dc.contributor.author |
บุญรอด บุญเกิด |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:04:30Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:04:30Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1380 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัยสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนความต้องการพัฒนาการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนา ตามความคิดเห็นของคณาจารย์และนิสิตนักศึกษา และนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนาในมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ คณาจารย์ที่ทำการสอนรายด้านปรัชญาและศาสนา ปีการศึกษา 2556 ได้จากการสุ่มแบบอย่างง่าย จำนวน 40 คน และนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ศึกษาวิชาทางด้านปรัชญาและศาสนาเป็นวิชาเอก ปีการศึกษา 2556 ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามมหาวิทยาลัย จำนวน 292 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และใช้การสนทนากลุ่ม ผลการศึกษามีดังนี้
1) สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนาในมหาวิทยาลัยของรัฐตามความคิดเห็นของคณาจารย์และนิสิตนักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน
2) ปัญหาด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนาในมหาวิทยาลัยของรัฐตามความคิดเห็นของคณาจารย์และนิสิตนักศึกษาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับน้อยทั้ง 5 ด้าน
3) ความต้องการการพัฒนาการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนา ตามความคิดเห็นของคณาจารย์และนิสิตนักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก
4) แนวทางปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนาในมหาวิทยาลัยของรัฐ ประกอบด้วยแนวทางพัฒนาด้านการบริหารหลักสูตร และด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ การเตรียมการสอน การดำเนินการสอน สื่อการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนนจากภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2555 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การจัดการเรียนการสอน |
th_TH |
dc.subject |
บรรยากาศในการเรียน |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนด้านปรัชญาและศาสนาในมหาวิทยาลัยของรัฐ |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Study of conditions and problems in teaching and studying philosophy and religions in Thai Public University |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.author.email |
boonrod@buu.ac.th |
|
dc.year |
2555 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to study conditions and problems of teaching and learning philosophy and religions in Thai public universities, to study students and lecturers’ needs for the development of the teaching and learning, and to present the guidelines for the development of teaching and learning philosophy and religion in Thai public universities. The samples comprised 40 public university lecturers and 292 university students. 40 lecturers teaching philosophy and religions in the academic year 2013 were selected by simple sampling method. While 929 undergraduate students majoring in philosophy and religions in the academic year 2013 were selected by stratified random sampling method. Research tools included with 5 point rating scale questionnaires, and group conversations. The result suggested:
1) According to lecturers and students’ opinions, the overall condition of teaching and learning philosophy and religions in Thai public universities was in a good condition (4 from a 5 rating scale). When examined area by area, all 5 areas indicated good conditions (4 from a 5 rating scale).
2) According to lecturers and students’ opinions, the overall problems of teaching and learning philosophy and religions in Thai public universities was at a low level (2 from 5 rating scale). When examined area by area, all 5 areas indicated a low level (2 from 5 rating scale).
3) According to lecturers and students’ opinions, the overall needs for the development of teaching and learning philosophy and religions in Thai public universities was at a high level (4 from 5 rating scale).
4) The guidelines for the development of teaching philosophy and religions comprised the guidelines for the development of curriculum administration, and teaching and learning activities-teaching preparation, teaching method, teaching media, and grading and evaluation. |
en |