dc.contributor.author |
ชมพูนุช ปัญญไพโรจน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:04:29Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:04:29Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1357 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยเรื่องนี้เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และแผนการสื่อสารการตลาดตราผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ในโครงการ “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” ในจังหวัดชลบุรี ผ่านการมีส่วนร่วมโดยใช้วิธีการวิชัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกอย่างไม่เป็นทางการ การสังเกตการณ์ และการออกภาคสนามตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2556 กับผู้ประกอบการกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรบ้านตม ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยภายใต้ 4 กระบวนการ โดยเริ่มจากกระบวนการการสร้างความสัมพันธ์แบบหุ้นส่วน การวิเคราะห์ปัญหาแบบมีส่วนร่วม การวางแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการปฏิบัติและถอดประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมผลการวิจัยพบว่า ตัวแทนของกลุ่มบ้านตมสามารถพัฒนาความรู้และความสามารถในการสร้างแผนการสื่อสารการตลาดได้ในระดับหนึ่ง มีทัศนคติที่ดีต่อการดำเนินการตามแผนการสื่อสารการตลาดที่วางไว้ และยังดำเนินงานด้านสื่อสารการตลาดต่อได้ด้วยตนเองหลังจากที่โครงการได้จบลง |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การมีส่วนร่วม |
th_TH |
dc.subject |
การสื่อสารการตลาด |
th_TH |
dc.subject |
ตราสินค้า |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเศรษฐศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
หนึ่งผลิตภัณฑ์ หนึ่งตำบล |
th_TH |
dc.title |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการสื่อสารการตลาดให้กับผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ในโครงการ "หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์" จังหวัดชลบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
Participatory action research for marketing communication knowledge of an "One Tambon Product Project" entrepreneur in Chonburi |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.author.email |
chompunuch@yahoo.com |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this study were to develop marking communication knowledge and plan for an “One Tambon One Product (OTOP)” entrepreneur in Chonburi, Bantom Village Group. This study employed Participatory Action Research (PAR) consisted of 4 processes: developing partner relationships, analyzing the problems, planning the solutions and acting and evaluation. The data were collected through informal in – depth interviews, observations and field trips from December 2012 to June 2013. The results revealed the representatives of Bantom Village Group could be improve marketing communication knowledge and able to develop their own plan. The villagers’ attitudes toward marking communication plan and action were positive. Currently, Bantom Vilage Group still keeps running the marking communication program even the research project was done. |
en |