DSpace Repository

กับดัก : สู่รูปแบบใหม่ในงานศิลปะ

Show simple item record

dc.contributor.advisor เทพศักดิ์ ทองนพคุณ
dc.contributor.advisor ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.author วราภรณ์ สมานวงษ์วาน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:51:24Z
dc.date.available 2024-02-05T06:51:24Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12786
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่องกับดัก: สู่รูปแบบใหม่ในงานศิลปะมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติในการดํารงชีวิตในมุมมองเพื่อความอยู่รอดในรูปแบบต่าง ๆ สร้างงานศิลปะที่สะท้อนเรื่องราวสอดคล้องกับแนวคิดที่ใช้เทคนิคจากวัสดุต่าง ๆ เพื่อนํามาสู่การสร้างสรรค์งานศิลปะในลักษณะสื่อผสมรูปแบบกึ่งนามธรรมโดยใช้วัสดุสื่อผสมมาสร้างสรรค์ ผลงานทัศนศิลป์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการดํารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดในมุมมองของกับดักนําเสนอ แนวคิดเชื่อมโยงถึงสิ่งมีชีวิตด้วยการจัดวางจากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลมาสู่งานสร้างสรรค์ผลงาน สื่อผสม จํานวน 3 ชิ้น คือ ผลงานชิ้นที่ 1 สายใย-ดักผลงานชุดนี้สะท้อนถึงความหมายที่ซ่อนเร้นในศิลปะการดํารงชีวิตด้วยการดิ้นรนการล่อลวงให้มาติดกับดักผลงานชิ้นที่ 2 สายใย-ธรรมชาติ สื่อถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นลําดับต่อเนื่องกันเป็นสายยาว เพื่อถ่ายทอดพลังงานให้แก่กัน การเป็นอาหารของกันและกันการแลกเปลี่ยนเพื่อดํารงเผ่าพันธุ์ ผลงานชิ้นที่ 3 จิตนาการ ความสัมพันธ์พลังแห่งชีวิต ผลงานสร้างเส้นใยดักเหยื่อให้มาติดกับดักเพื่อความอยู่รอด ติดตั้ง ลักษณะแขวนผลงานทั้ง 3 ชิ้นสื่อด้วยรูปร่างรูปทรงวัสดุที่ผสมผสานเส้นใยต่าง ๆ บนโครงสร้างจากธรรมชาติมาจัดองค์ประกอบในงานกับดัก: สู่รูปแบบใหม่ในงานศิลปะ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject ศิลปะ
dc.title กับดัก : สู่รูปแบบใหม่ในงานศิลปะ
dc.title.alternative Trap: Next form of semi abstract artwork using mixed media
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of the research reported in this paper was to study the relations between 2D and 3D abstract natural structure to be alive for artwork by using mixed media creatingvisual art that involves in livelihood. The perspective of the trap presents as a living for survival by art installation. From analysis, the data was divided into 3 piecesof mix media works. The first “Trapweb” reflects the latent meaning in the visual art, how to survive for livingand struggled trap.Second, it is an imagination of the power of life that related to the connection of sequenced living things to obtain energy flooding together and exchange for extinction of organism. The last one is “trap” which is the structureof trapping wed to trap something for survival and hanging installation. The overalls are shape and form including mixed materials from several fibers, such as yarn, rope, or fabric. The structure derives from nature and mixed into the trap.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account