DSpace Repository

การสร้างมูลค่าเพิ่มในการส่งออกมังคุดไทยไปยังประเทศจีน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชำนาญ งามมณีอุดม
dc.contributor.author กนกรัตน์ คำรอด
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:35:40Z
dc.date.available 2024-02-05T06:35:40Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12751
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ถึงกิจกรรมห่วงโซ่คุณค่าในการส่งออกมังคุดไทยไปยังประเทศจีนและเพื่อแนะนำแนวทางการเพิ่มมูลค่าในการส่งออกมังคุดไทยไปยังประเทศจีน วิธีการดำเนินการวิจัยแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitaive rescarch) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มประกอบด้วย 1) กลุ่มตัวอย่างในประเทศไทยจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ ล้งมังคุดที่รับซื้อผลผลิตจากชาวสวน ผู้ประกอบการรวบรวมและคัดบรรจุและตัวแทนผู้ส่งออกมังคุดไปประเทศจีน 2) กลุ่มตัวอย่างในประเทศจีน เมืองคุณหมิง ได้แก่ ผู้นำเข้าและผู้ค้าส่งมังคุดในประเทศจีน และผู้จัดการ/ บริหารสินค้าปลีกผลไม้ในประเทศจีน ผลการวิจัยพบว่า ห่วงโซ่คุณค่าในการส่งออกมังคุดไทยไปยังประเทศจีนทุกองค์ประกอบในห่วงโซ่คุณค่ามีความเชื่อมโยงกับหมดในทุกขั้นตอน จะต้องให้ความสำคัญในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรมไม่ว่าจะเป็นการรับซื้อผลผลิตจากชาวสวน การคัดแยกประเภท การส่งขายไปขังผู้รวมรวบคัดบรรจุ กระบวนการดบรรจุ การส่งของไปขายยังประเทศจีน การกระจายสินค้าขายส่งและขายปลีกในประเทศจีน ความสำคัญในทุกขั้นตอน คือ เรื่องของคุณภาพสินค้า ต้องมีคุณภาพดีตรงตามมาตรฐานที่ตลาดต้องการ ราคาและปริมาณในการซื้อขายมีความสัมพันธ์กันกับอุปสงค์และอุปทานของตลาด รวมไปถึงช่วงฤดูกาล เทศกาล และความต้องการของสินค้าที่ปลายทาง ผู้ที่ถือครองมูลค่าเพิ่มในห่วงโซ่คุณค่าของการส่งออกมังคุดมากที่สุด คือ ผู้ส่งออกมังคุด ไปประเทศจีน นอกจากจะมีอำนาจต่อรองในการกำหนดราคาขายที่ปลายทางแล้วนั้น ยังเป็นผู้ กำหนดราคารับซื้อในประเทศไทยด้วย หากผู้ประกอบการคัดบรรจุคนไทยสามารถที่จะส่งมังคุด ออกไปขายยังตลาดประเทศจีนได้ จะทำให้ลดขั้นตอนของห่วงโซ่คุณค่าลง และจะได้มูลค่าเพิ่มจาก การส่งออกเองด้วย การส่งออกไปขังตลาดประเทศจีนเพียงอย่างเดียวอาจเป็นการสูญเสียมูลค่าที่จะ เพิ่มขึ้นได้ หากมีการหาตลาดเพื่อการส่งออกมังคุดไปขายยังต่างประเทศแห่งใหม่ เช่น ประเทศ ได้หวัน ประเทศอินเดีย เพิ่มขึ้นได้นั้น ก็จะเป็นช่องทางในการกระจายสินค้าได้เพิ่มมากขึ้นและ ราคาสินค้าก็จะดีขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มังคุด -- การส่งออก
dc.subject Humanities and Social Sciences
dc.subject มังคุด -- การตลาด
dc.subject ไทย -- การค้ากับต่างประเทศ -- จีน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก
dc.title การสร้างมูลค่าเพิ่มในการส่งออกมังคุดไทยไปยังประเทศจีน
dc.title.alternative Vlue dded to export of mngosteens from Thilnd to Chin
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study and analyze the activities in the value chain for exporting mangosteens from Thailand to China and to provide recommendations in adding value to the exports to China. This was carried out as a qualitative research, using in-depth interviews with two sample group including 1)the sample group in Chantaburi Province consisting of buyers from growers, entrepreneurs packaging and exporters to China and 2) the sample group in Kunming, China consisting of importers and wholesalers in China and managers of retails sales in China. From the research it was found that the components of the value chain in exporting mangosteens to China were all connected in each process, therefore importance had to be given to the process for each activity regardless of buying from the growers, selecting the fruit, selling and transporting to the packagers, the packaging process, exporting to China and wholesale and retail distribution in China. The importance in each step of the process was product quality which had to meet market standards. The price and quantity purchased were related to market supply and demand, as well as season, festivities and demand for products at the end point. The variable in the chain with the largest portion in terms of value added exporting mangosteens was the exporter to China. In addition to having bargaining power and establishing prices at the end destination, they also determined the purchasing price in Thailand as well. If the packagers in Thailand would export directly to China, this would reduce the process in the value chain and they would benefit from the value added of exporting as well. Only exporting to China might result in loss of value added which could possible increase. If more markets for exports are found, such as Taiwan or India, this would provide a channel to increase distribution and prices.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการธุรกิจโลก
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account