DSpace Repository

การรับรู้รูปแบบของโครงการความรับผิดชอบต่อสังคมในการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล

Show simple item record

dc.contributor.advisor นพดล เดชประเสริฐ
dc.contributor.author ภัทชลา แก้วศรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:35:40Z
dc.date.available 2024-02-05T06:35:40Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12750
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การให้ความหมาย การรับรู้รูปแบบโครงการ ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ลักษณะการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) จากบุคลากร และผู้ค้าสลากราย่อย และใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive analysis) เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ) การให้ความหมาย: สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลได้กำหนดความรับผิดชอบต่อสังคมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมุ่งเน้นการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีให้แก่สังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยการปลูกฝังคนในองค์กรและประชาชนทั่วไปให้อนุรักษ์และรักยาสิ่งแวดล้อม 2) รูปแบบโครงการความรับผิดชอบต่อสั่งคม : เป็นรูปแบบของการบริจาคเพื่อการกุศลเป็นส่วนมากเป็น CSR-after-process คือ การรับผิดชอบต่อสังคมทำอยู่นอกกระบวนการ และเป็น Strategic-CSR การทำความรับผิดชอบต่อสังคมในเชิงรุก (Proactive) ที่องค์กรสามารถริเริ่มกิจกรรมด้วยตัวเองให้แก่สั่งคม 3) การรับรู้รูปแบบโครงการความรับผิดชอบต่อสั่งคม: ผู้บริโภคเห็นว่าการทำโครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กรจะไม่มีวันทำสำเร็จได้หากปราศจากความร่วมมือจากสมาชิกทุกคนในองค์กร เนื่องจากบุคคลเหล่านี้ย่อมต้องมีการติดต่อกับประชาชน และมีบทบาทในการสร้างความประทับใจหรือภาพลักษณ์ที่ดีการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรในด้าน CSR โดยสรุปแล้ว รัฐวิสาหกิจใด ๆ จะมีความรับผิดชอบต่อสังคมแท้จริงต่อสังคมด้วย การที่ไม่ละเมิดต่อผู้มีส่วนได้เสียทั้งหลายตั้งแต่ผู้ถือหุ้น ลูกจ้าง คู่ค้า ลูกค้าชุมชน สังคมและสิ่งเวคล้อม โดยรวม ทั้งทางแพ่งและทางอาญา เราต้องคำเนินธุรกิจให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย การส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลจะต้องประกอบด้วย การประชาสัมพันธ์ การสื่อสาร กิจกรรมสร้างสรรค์ ความคาดหวัง การวัดผลหรือประเมินผลของกิจกรรม CSR ความชัดเจน เป็นเรื่องของนโยบาย งบประมาณ ทรัพยากร ความสม่ำเสมอ กิจกรรมความรับผิดชอบ ต่อสังคมของทุกองค์กรจะต้องปฏิบัติด้วยความจริงใจ ไม่ทำกิจกรรม เพียงเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ องค์กรหรือกิจกรรมที่พนักงานขององค์กรไม่ได้มีส่วนร่วมเลย หรือทำด้วยความไม่เต็มใจ แต่ต้องเป็น การร่วมกันดำเนินการ โดยมีเป้าหมายร่วมกันเป็นกิจกรรมที่น้อมนำองค์กรและสมาชิกในองค์กรเป็น ส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคมเกิดความใกล้ชิด ความร่วมมือกันในกิจกรรมของชุมชนและสังคมเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ภาพลักษณ์องค์การ
dc.subject ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ -- ไทย
dc.subject Humanities and Social Sciences
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subject สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
dc.title การรับรู้รูปแบบของโครงการความรับผิดชอบต่อสังคมในการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
dc.title.alternative Perception model of corporte socil responsibility in promoting the positive imge of the Government Lottery Office
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This study aimed to investigate. Meaning The pattern recognition program of corporate social responsibility (CSR) of the Government Lottery Office. The study was qualitative research. The obtained data The research documents and in-depth interviews (In-depth Interview) from personnel and lottery retail traders. And analyzing descriptive information (Descriptive analysis) to research purposes. The results showed that: 1) Definition: GLO define social responsibility in writing. With a focus on creating a better society and environment by instilling in the organization and the general public to conserve and protect the environment 2) forms of social responsibility: a form of charitable giving as many. are CSR-after-process CSR is done outside the process and a Strategic-CSR. Making CSR proactively (Proactive) organizations can initiate activities themselves to society 3) perceived form of social responsibility: consumers see that the project of social responsibility of the lottery office. Government 4) aims to create a positive image of the organization will not succeed without the cooperation of every member of the organization. Because these people will have contact with the public. And its role in creating an impression or image. Creating a positive image of the organization in terms of CSR and concluded Enterprises has any responsibility, indeed to society by not violating the stakeholders are the shareholders, employees, suppliers, customers, communities and the environment as a whole. Both civil and criminal We need to conduct business legally. Promoting a positive image of the GLO must contain. Communications, public relations activities, expectations measure or assessment of CSR activities is clear as a matter of policy, budget resources consistent CSR activities of all organizations must act with sincerity. Not only to publicize the organization's activitiesor activities that employees are not engaged yet. Or by the unwillingness It is jointly operated by a common goal is an activity that brings organizations and members of the community and social organizations, as part of a closer collaboration in community activities and social sustainability.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account