DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยผู้มีประสิทธิผล 8 ประการ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรและการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรเทศบาลนครแหลมฉบัง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ณภัคอร ปุณยภาภัสสร
dc.contributor.author ปรโชต สุขสวัสดิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:35:39Z
dc.date.available 2024-02-05T06:35:39Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12746
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผลสูงสุด 8 ประการและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรกับการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผลสูงสุด 8 ประการ และการบริหารจัดการโดย ยึดหลักธรรมาภิบาล กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรและการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล กับอุปนิสัย ของผู้มีประสิทธิผลสูงสุด 8 ประการ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ไนการศึกษา ได้แก่ บุคลากร เทศบาลนครแหลมฉบังจำนวนทั้งสิ้น 29 คน สถิติที่ใช้ โดยแจกแจงจำนวนความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน หรือสหสัมพันธ์ เชิงเส้นตรง ผลการศึกษา พบว่า สหสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผลสูงสุด 8 ประการ และ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรกับการบริหารจัดการ โดยหลักธรรมาภิบาลสหสัมพันธ์ ระหว่างอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผลสูงสุด 8 ประการ และการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และสหสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีและ การบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลขององค์กร กับอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผลสูงสุด 8 ประการ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน โดยมีความสัมพันธ์ในระดับสูง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรพยากรณ์กับตัวแปรเกณฑ์ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในระดับสูง ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้ เทศบาลนครแหลมฉบัง ควรมุ่งเน้นพัฒนาปรับปรุงการบริหารงาน ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะการสื่อสาร ควรเพิ่มเติมยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการองค์กร เกี่ยวกับ เป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมแบบมีส่วนร่วม การเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ และประชาชน มีส่วนร่วมในการตัดสินปัญหา และควรเปิดโอกาสให้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เจ้าหน้าที่เกิดความรู้สึกที่ดี และยินดีให้ความร่วมมือในงานของ เทศบาล และงานของประชาชน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject Humanities and Social Sciences
dc.subject พนักงานเทศบาล
dc.subject เทศบาล -- การบริหาร
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subject ธรรมรัฐ
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยผู้มีประสิทธิผล 8 ประการ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรและการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรเทศบาลนครแหลมฉบัง
dc.title.alternative Reltionship between the eight hbits of highly effective people, orgniztionl citizenship behvior nd mngement under good governnce
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This study attempted to study the relationship between the eight habits of highly effective people, organizational citizenship behavior and management under good governance, to study relationship between the eight habits of highly effective people, management under good governance and organizational citizenship behavior and, to study the relationship between organizational citizenship behavior, management under good governance and, the eight habits of highly effective people. The subjects in this study were295 officials in Laem Chabung City Municipality. The statistics in this study were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviationand, Pearson Correlation Coefficient or linear correlation. The findings revealed that the correlation betweenorganizational citizenship behavior, management under good governance and the eight habits of highly effective people and the management under good governance, organizational citizenship behavior and, the correlation between organizational citizenship behavior, the management under good governance and the eight habits of highly effective people were in the similar direction with the high level of relationship. When considering at coefficient level between prediction variables and criterion variables, it was found that the coefficient values were at the high level. The suggestions in this study were that Laem Chabung City Municipalityshould emphasize to improve its administration together with the development of communication skills. Furthermore, there should be the organizational management strategies focusing on the target to develop operational potential of the officials. There should be the encouragement of the participation, the opening of the opportunities for officials and resident to collaborate to judge the problems and the opening of the opportunities to suggest the solution for the problems wouldlet the officials appreciate and willing to collaborate to the work of the municipality and of the people.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account