dc.contributor.advisor |
ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์ |
|
dc.contributor.author |
ธัชชพันธ์ ศิริเวช |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-05T06:29:14Z |
|
dc.date.available |
2024-02-05T06:29:14Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12736 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มุ่งพัฒนารูปแบบแนวทางบริหารผู้มีศักยภาพสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา องค์ประกอบสำคัญของรูปแบบแนวทางบริหารและวิเคราะห์คุณลกัษณะที่มีอิทธิพลต่อผลดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพของกลุ่มบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้การวิจัยแบบผสมวิธีโดยกำหนดประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นผู้บริหารสายงานธุรกิจของกลุ่มบริษัท มีองค์ประกอบเชิงประจักษ์ จำนวน 58 องค์ประกอบ แบ่งเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 9 ท่าน และสำรวจข้อมูล จำนวน 929 ตัวอย่าง นำผลที่ได้ไปวิจัยสนทนาเชิงกลุ่มผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ จำนวน 9 บริษัท นำผลใช้วิเคราะห์ยืนยันสมการเชิงโครงสร้าง ผลการวิจัยแนวทางบริหารผู้มีศักยภาพสูงมีองคป์ระกอบสำคัญเกี่ยวกับมุมมองการบริหาร กระบวนการบริหารประเมินผลการบริหาร และกระจายความเสี่ยงในการบริหาร มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อผลการดำเนินงานขององค์การธุรกิจรวมทั้งมีอิทธิพลแทรกซ้อนจากองค์ประกอบการประเมินศักยภาพสูงและองคป์ระกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทำให้โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในรูปแบบสมการเชิงโครงสร้างองค์ประกอบ พิจารณาค่าความสอดคล้องดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.995 และค่า RMASEA เท่ากับ 0.004 เป็นผลจากค่าสถิติไคสแควร์ต่อองศาอิสระมีค่า เท่ากับ .978 และค่าระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.495 มากกว่าที่กำหนดไว้ระดับ 0.05 จากผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารส่วนใหญ่ให้ความสำคัญมากกว่าร้อยละ 66 กับรูปแบบการบริหารผู้มีศักยภาพสูง เนื่องจากขาดความชัดเจนต่อมุมมองการยอมรับความสำเร็จที่มีต่อกระบวนการบริหารการผลักดันให้เกิดผลเชิงรูปธรรมในการประเมิน และกระจายความเสี่ยงรองรับการแข่งขันทั้งนี้กลุ่มผู้บริหารอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ให้ความสำคัญกับแนวทางบริหารผู้มีศักยภาพสูงโดยวิธีการจำแนกกลุ่มกำหนดกระบวนการบริหาร ได้แก่ กลุ่มผู้มีผลการปฏิบัติงานดีกลุ่มผู้มีผลการปฏิบัติงานสูงกลุ่มผู้มีผลสัมฤทธิ์กลุ่มผู้มีศักยภาพสูงและประเมินระดับ ความสำคัญเป้าหมาย 5 ระดับ สรุปผลการวิจัยองค์ประกอบแนวทางบริหารผู้มีศักยภาพสูงมีอิทธิพลทางตรงต่อผลการดำเนินงานองค์การและมีอิทธิพลทางอ้อมผ่านการประเมินศักยภาพสูงและผลปฏิบัติงานสูงที่มีผลต่อการดำเนินงานธุรกิจ มีความจำเป็นต่อการพัฒนาศักยภาพมุ่งเน้นการขีดความสามารถและจัดการพฤติกรรมบุคลากรให้เหมาะสมเพื่อความสำเร็จในเป้าหมายการเพิ่มศักยภาพด้านเติบโตและผลตอบแทนการลงทุนของธุรกิจและต้องกำหนดแนวทางให้สอดคล้องกับการแยกกลุ่มผู้มีศักยภาพสูง |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
Humanities and Social Sciences |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ |
|
dc.subject |
ความสามารถทางการบริหาร |
|
dc.subject |
ตลาดหลักทรัพย์ -- การบริหาร |
|
dc.title |
รูปแบบแนวทางบริหารผู้มีศักยภาพสูงที่มีผลต่อการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย |
|
dc.title.alternative |
Tlent mngement lignment ffect to Stock Exchnge of Business Performnce of Public Compny Thilnd |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research was aligned to develop the management model for talent management alignment. The objective was to study the important component of the high-potential personnel in different characteristics and analyze the characteristics that effected on the performance of companies registered with the Stock Exchange of Thailand. Mixed method was used in this study. The population in this study was the executives from business companies. Fifty-eight empirical components were determined from the structural analysis and structural equation analysis of the in-depth interview of 9 executives, surveys from at least 900 executives and 929 completed questionnaires and focus group of 9 companies on real estate industry. The result of this research demonstrated component for talent management alignment that management perspectives, process, performance and portfolio had both direct and indirect effects in the business performance. They also affected the high-potential evaluation component and performance evaluation component. Therefore, these were in accordance with the empirical information derived from structural equation modeling. The goodness of fit index (GFI) was 0.995 and the RMASEA was 0.004. The Chi-square statistics per degree of freedom was equal to .978 which was less than 2 and with the significant level of 0.495, which was more than 0.05. From the interview, most of the executives gave an importance to the management of high-potential personnel while some of them still lacked of definite perspective in Talent Management. The success of management resulted from the evaluation risk distribution in portfolio that the encourage personnel to be ready for further competition in the future. Therefor the executive of real estate industry has to separate for performer group high-performer group high-potential group and talent group that this is goal evaluation for 5 levels In the conclusion, the component involved with the talent management alignment had a direct influence on the business performance and also an indirect influence on high-potential and high performance evaluation to the business performance. In order to increase business capability, it was necessary to develop both human resource and the organization by focusing on the creation of personnel who have skills suitable for the business key success. The evaluation could be seen from the growth and return of the business. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|