dc.contributor.author |
วรรณภา กสิฤกษ์ |
th |
dc.contributor.author |
อลงกลด แทนออมทอง |
th |
dc.contributor.author |
ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:04:23Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:04:23Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1268 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาพันธุศาสตร์เซลล์ของปลาในวงศ์ปลาสลิดหิน (วงศ์ย่อย Pomacentrinae) ในประเทศไทย 11 ชนิด ได้แก่ ปลาสลิดหินครีบหลังจุด (Pomacentrus vaiuli) ปลาสลิดหินฟ้า (P. caeruleus) ปลาสลิดหินฟ้าท้องเหลือง (P.auriventris) ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง (P. similis) ปลาสลิดหินสามสี (Chrysiptera rollandi) ปลาสลิดหินฟ้าครีบหลังจุด (C. cyanea) ปลาสลิดหินหางเหลือง (Neoglyphidodon nigroris) ปลาสลิดหินเจ็ดบั่ง (Abudefduf bengalensis) ปลาสลิดหินห้าบั้ง (A. vaigiensis) ปลาสลิดหินฟ้าเหลือง (C.hemicyanen) และปลาสลิดหินสีทอง (Amblyglyphidodon aureus) เตรียมโครโมโซมจากไตด้วยวิธีการบดขยี้เซลล์ และการเพาะเลี้ยงเซลล์เม็ดเลือดขาว ทำการย้อมสีโครโมโซมแบบธรรมดา ผลการศึกษาพบว่ามีจำนวนโครโมโซมดิพลอยด์เท่ากับ 48,42,48,48,46,36,48,46,48,30 และ 48 แท่ง ตามลำดับ มีจำนวนโครโมโซมพื้นฐานเท่ากับ 86, 68,48,48,50,64,82,52,50,56 และ 80 ตามลำดับ สามารถจัดสูตรคาริโอไทป์ ดังนี้ ปลาสลิดหินครีบหลังจุด 2n(48)=10m+14sm+14a+10t ปลาสลิดหินฟ้า 2n(42)=6m+6a+16t, ปลาสลิดหินฟ้าท้องเหลือง 2n(48)=48t , ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง 2n(48)=48t, ปลาสลิดหินสามสี 2n(46) =2m+2sm+42t, ปลาสลิดหินฟ้าครีบหลังจุด 2n(36)=12m+16sm+8t, ปลาสลิดหินหางเหลือง 2n(48)=8m+20sm+6a+14t, ปลาสลิดหินเจ็กบั้ง 2n(48)=4m+44t, ปลาสลิดหินห้าบั้ง 2n(48)=2m+46t, ปลาสลิดหินฟ้าเหลือง 2n(30)=16m+14t และปลาสลิดหินสีทอง 2n(48)=16m+16sm+16t ไม่พบความแตกต่างของคาริโอไทป์ระหว่างปลาสลิดหินเพศผู้และเพศเมีย จากข้อมูลเบื้องต้นนำมาสร้างแบบจำลองสมมติฐานสายวิวัฒนาการของโครโมโซม ทำให้สันนิษฐานได้ว่าปลาสลิดหินทั้ง 11 ชนิด มาจากบรรพบุรุษร่วมที่มีจำนวนโครโมโซมดิพลอย์ เท่ากับ 48 แท่ง จำนวนโครโมโซมพื้นฐานเท่ากับ 48 และเป็นโครโมโซมชนิดเทโลเซนทริกทั้งหมด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินผ่านมหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2555 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ปลาสลิดหิน |
th_TH |
dc.subject |
พันธุศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
โครโมโซม |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
พันธุศาสตร์เซลล์ของปลาวงศ์ย่อยปลาสลิดหินบางชนิดในประเทศไทย. |
th_TH |
dc.title.alternative |
Cytogenetics of some species of subfamily pomacentrinae in Thailand. |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2556 |
|
dc.description.abstractalternative |
Cytogenetics of 11 species of the some fishes (subfamily Pomacentrinae) in Thailand was studied such as Pomacentrus vaiuli, P. caeruleus, P. auriventris, P. similis, Chrysiptera rollandi, C. cyanea, Neoglyphidodon nigroris, Abudefduf bengalensis, A. vaigiensis, C. hemicyanen and Amblyglyphidodon aureus. chromosome from kidney tissue and T-lymphocyte cell culture were prepared by breaking cell and followed by conventional staining technique. The result showed that diploid chromosome number (2n) of 48, 42, 48, 48, 46, 36, 48, 46,48, 30 and 48, respectively with the fundamental number (NF) or chromosome arms of 86, 68, 48, 48, 50, 64, 82, 52, 50, 56 and 80 respectively. The karyotypic formula of fishes can be shown as following: P. vaiuli 2n (48) = 10m+15sm+14a+10t, P.caeruleus 2n(42)=6m+14sm+6a+16t, P. auriventris 2n(48)=48t, P.similis 2n(48)=48t, C. rollandi 2n (46) =2m+2sm+42t, C.cyanea 2n(36)=12m+16sm+8t, N.nigroris 2n(48)=8m+20sm+6a+14t, A.bengalensis 2n(48) =4m+44t, A.vaigiensis 2n (48)=2m46t, C.hemicyamen 2n(30) =16m+14t and A. aureus 2n(48)=16m+16sm+16t as follow. No strange size chromosomes related to sex was observed. As a consequence the data above can beused to simulate the evolution hypothesis. The 11 fish species apparently evolved from a common ancestor of 48 telocentric chromosomes (NF=48). |
en |