dc.contributor.advisor |
ภรดี พันธุภากร |
|
dc.contributor.advisor |
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก |
|
dc.contributor.advisor |
เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ |
|
dc.contributor.advisor |
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม |
|
dc.contributor.advisor |
Xing |
|
dc.contributor.advisor |
Go |
|
dc.contributor.author |
เซียง,เกา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา.คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-25T08:56:26Z |
|
dc.date.available |
2024-01-25T08:56:26Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12687 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศิลปะการมัดย้อมของชนกลุ่มน้อยชนชาติไป๋ ในเมืองต้าหลี่ ขยายขอบเขตด้านการใช้ประโยชน์จากผ้ามัดย้อมและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากศิลปะการมัดย้อมของชนชาติไป๋ ให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับรสนิยมของผู้บริโภคและมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นด้วยการนําองค์ประกอบในด้านการออกแบบที่หลากหลาย ทั้งทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาผสมผสานกับความร่วมสมัยและเอกลักษณ์ความเป็นจีน เข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า ผลิตภัณฑ์มัดย้อมของชนชาติไป๋ อุดมไปด้วยความงามที่สะท้อนให้เห็นแนวคิดเกี่ยวกับศิลปะจากธรรมชาติและเป็นผลงานศิลปะจากจินตนาการที่ไม่สามารถคาดเดา ลวดลายที่เกิดขึ้นบนผ้าได้อย่างตายตัวซึ่งแตกต่างจากการวาดภาพบนกระดาษเป็นอย่างมาก แต่ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์มัดย้อมของชนชาติไป๋ ถูกนํามาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบที่จํากัด ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้นําศิลปะการมัดย้อมชนชาติไป๋ มาดําเนินการออกแบบลวดลายใหม่ด้วยการผสมผสานระหว่างแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านกับภาพวาดลัทธิเหนือจริง (Surrealism) จนได้มาซึ่งภาพแบบร่างลวดลายผ้ามัดย้อมใหม่จํานวน 4 ชุด 14 แบบร่าง เมื่อนําแบบร่างดังกล่าวไปสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญพบว่า ผลงานชุดฤดูหนาวแบบร่างที่ 1 และผลงานชุดฤดูร้อนแบบร่างที่ 3 คือรูปแบบลวดลายที่ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่ามีความเหมาะสม มากที่สุด เมื่อนําแบบร่างไปจัดทําเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์และนําไปสอบถามความพึงพอใจจาก ผู้บริโภคพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความชื่นชอบรูปแบบและลวดลายผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 ชุด อยู่ใน ระดับมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ต้องคํานึงถึงรูปลักษณ์ภายนอกที่สวยงามเท่านั้น ยังต้องใส่ใจด้านประโยชน์ ใช้สอยและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ด้วย ทั้งนี้ ศิลปะการมัดย้อมของชนชาติไป๋ ที่ถูกนํามาประยุกต์ใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านในครั้งนี้คือผลงานการออกแบบที่สามารถสื่อถึงความคิดสร้างสรรค์ สะท้อนเอกลักษณ์ทางศิลปะของชนชาติไป๋ และสามารถสร้างทางเลือกที่หลากหลายให้กับการตกแต่งบ้านที่อุดมไปด้วยเอกลักษณ์ของชนชาติจีน ตลอดจนสามารถสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนและก่อให้เกิดการอนุรักษ์ศิลปะการมัดย้อมของชนชาติไป๋สืบไป |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์ -- การออกแบบ |
|
dc.subject |
การมัดย้อม -- จีน |
|
dc.title |
ศิลปะการมัดย้อมของชนชาติไป๋กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน |
|
dc.title.alternative |
New refingding of bi tie-dye rt nd home textile design |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aims to study the tie-dye art of Dali Bai nationality and expand the use of tie-dye and development tie-dye art and product designs of Bai nationality to be modernalong with a consumer and distinctive identity by the introduction of various design elements, both theoretical and practical in a combination of contemporary and uniqueness of China. The research results as following: tie-dye art product of Bai nationality fulfill beauty that reflects the ideas of the art of nature and the art of fantasy with unpredictable pattern on a flexible fabric which are totally different from drawing on paper. However, tie-dye art productsof Bai nationality are createdin limited. Therefore, researcher redesigns by using a combination of decorative product design and surrealism painting to create a new tie-dye art pattern of Bai nationality. The results consist of 4 set (14 sketches) of new tie-dye patterns. Most experts give feedback on new tie-dye patterns that the first sketch of winter series and the third sketch of summer series are the most appropriate prototypes. From satisfaction survey on early prototypes, most consumers are satisfied with both products in a high level. It is also that product design is not only to meet the need of consumers but also to concern the beauty, quality, and usefulness of products. These researches considers tie-dye art of Bai nationality as a main idea and apply it to the decorative product design. Moreover, thedesign conveys the creativity, reflecting the tie-dye art of Bai nationality, and creating a wide choice of home décor for Chinese people. As well as the design from this research can be a part of community to contribute income for people and to preserve tie-dye art of Bai nationality. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|