DSpace Repository

ปัจจัยแรงจูงใจที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของประชาชน เทศบาลตำบลแสนภูดาษ จังหวัดฉะเชิงเทรา

Show simple item record

dc.contributor.advisor นิภา มหารัชพงศ์
dc.contributor.author ศศิวิมล ฉุนแสนดี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-01-25T08:46:46Z
dc.date.available 2024-01-25T08:46:46Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12621
dc.description งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract ประชาชนออกกำลังกายน้อยลง เสี่ยงในการเป็นโรคเรื้อรังการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของประชาชน เทศบาลตำบลแสนภูดาษ จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคคลที่มีอายุ 25-59 ปี ที่เป็นสมาชิก ในครัวเรือน กลุ่มตัวอย่าง 264 คน ข้อมูลเก็บด้วยแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล แรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายนอก และพฤติกรรมการออกกำลังกาย แบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์เพียร์สัน และถดถอยแบบลอจีสติก ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 เป็นหญิง ซึ่งพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 61.7 ที่ออกกำลังกาย โดยมีพฤติกรรมการออกกำลังกายครบตามเกณฑ์ร้อยละ 42.0, ออกกำลังกายแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ร้อยละ 19.7 และที่ไม่ออกกำลังกายร้อยละ 38.3 ประชาชนมีแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอกระดับมาก ร้อยละ 74.6 และ 42.8 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจกับพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า มีความสัมพันธ์กันทั้งแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอกในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.000 โดยแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอกมีปริมาณความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายร้อยละ 16.6 และ 8.8 ตามลำดับ และเมื่อวิเคราะห์ด้วยถดถอย แบบลอจีสติก พบว่า ประชาชนที่มีแรงจูงใจภายในมากมีโอกาสออกกำลังกายเป็น 2.85 เท่าของประชาชนที่มีแรงจูงใจภายในไม่มาก ข้อเสนอแนะโดยนำการรณรงค์การสร้างสวนสุขภาพ และการนำบุคคลตัวแบบมาสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกาย
dc.language.iso th
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การออกกำลังกาย
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subject Health Sciences
dc.subject สุขภาพ -- การดูแล
dc.title ปัจจัยแรงจูงใจที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของประชาชน เทศบาลตำบลแสนภูดาษ จังหวัดฉะเชิงเทรา
dc.title.alternative Fctors on motivtion ffecting the exercise of the people in snphuds municiplity, chchoengso province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative People were risking to chronic diseases due to less of exercise. This study aimed to identify factors associated with motivation to exercise behavior in Sanphudas municipality, Chachoengsao province. The sample of persons aged 25-59 years who are members in the household. The sample consisted of 264 people. Data were collected by a structured interview consisting of 4 parts were personal information, intrinsic motivation, extrinsic motivation and exercise behavior. Interviews were analyzed by percentage, mean, standard deviation . Correlation Pearson and Logistic regression . The study found that people were female 55.3 percent. The exercise behavior found that most people 61.7 percent exercise, an exercise for health 42.0 percent, 19.7 percent of the exercise not criteria and do not 38.3 percent exercise. The people had high intrinsic and extrinsic motivation the 74.6 and 42.8 percent respectively. The analysis relating between motivation and exercises behaviors that are related to both intrinsic motivation and extrinsic motivation in positive significantly at 0.00. The intrinsic motivation and extrinsic motivation is correlated with the exercise behavior 16.6 and 8.8 percent respectively and analyzed by Logistic regression found that people had high intrinsic motivation had opportunity to exercise as much as 2.85 of people who had intrinsic motivation not by much.. Recommended by leading the campaign. Creating a healthy garden And the introduction of models motivated to exercise .
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline สาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.name สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account