DSpace Repository

การพัฒนาระบบการบำรุงรักษาโดยพิจารณาความน่าเชื่อถือของเครื่องจักรเป็นสำคัญ

Show simple item record

dc.contributor.author จันทร์ฑา นาควชิระตระกูล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:22Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:22Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1257
dc.description.abstract การบำรุงรักษาโดยพิจารณาความน่าเชื่อถือเป็นสำคัญ (Reliability-centered Maintenance: RCM) เป็นกระบวนการที่ใช้ในการประเมินระบบเพื่อกำหนดนโนยบายหรือกลยุทธ์สำหรับการจัดการสินทรัพย์ทางกายภาพ (Physical Asset) และกำหนดแนวทางการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นความบรรลุระดับของความน่าเชื่อถือของระบบอย่างเป็นระบบ และการพิจารณาเพื่อลดหรือขจัดงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันที่เกิดความจำเป็นด้วยเทคนิคการจัดการความขัดข้องของเครื่องจักร อันประกอบด้วย การปฏิบัติเชิงรุก (Proactive task) และการกำหนดมาตรการปฏิบัติการ (Default action) งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้ระบบ RCM กับระบบทำความเย็นแบบ Contact Plate freezer ของโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารทะเลแช่แข็งแห่งหนึ่งซึ่งพบว่ามีความขัดข้องของเครื่องจักรสูงมากอันเนื่องมาจากปัญหาการออกแบบระบบบำรุงรักษาที่ขาดประสิทธิภาพ โดยจะเห็นได้จากแผนบำรุงรักษามีเพียงกำหนดรายสัปดาห์ ให้มีการตรวจเช็คสภาพทั่วไป และทำความสะอาดในบางส่วนของเครื่องจักรตามเวลาที่กำหนดนั้น โดยที่แผนการบำรุงรักษาฉบับนี้ได้ถูกออกแบบให้ใช้มาเป็นระยะเวลาประมาณ 10 โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ไม่สามารถคาดการณ์ความล้มเหลวที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้ เมื่อเกิดความล้มเหลวจนระบบหยุดทำงานจึงทราบ ทำให้ระบบทำความเย็นต้องหยุดการทำงานซึ่งส่งผลกระทบต่อโรงงงานอย่างมาก นอกจากนี้เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของแผนการบำรุงรักษาพบว่ามีแต่แผนตรวจสอบและทำความสะอาด ซึ่งพบว่านอกจากจะไม่ครอบคลุมงานซ่อมบำรุงที่จำเป็นและมีความถี่ไม่เหมาะสมแล้ว ยังพบว่างานที่ไม่มีความจำเป็นหรืองานที่มีความถี่มากเกินความจำเป็นที่ร่วมรายการตรวจสภาพทั่วไป การทำความสะอาดอุปกรณ์และพื้นที่ การปรับตั้งและการตรวจวัดทางไฟฟ้า มีสูงถึง 7,696 งานต่อปี จึงได้ทำการศึกษาระบบและดำเนินขั้นตอนการพัฒนาระบบบำรุงรักษาแบบ RCM ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ 1) การเลือกระบบและรวบรวมข้อมูล 2) การกำหนดขอบเขตของระบบ 3) การกำหนดรายละเอียดของระบบ 4) กำหนดหน้าที่ และข้อขัดข้องในการทำงานของระบบ 5) การวิเคราะห์รูปแบบและผลที่เกิดจากข้อขัดข้องแต่ละรูปแบบ 6) การวิเคราะห์ตรรกะภารกิจบำรุงรักษา 7) การเลือกงานบำรุงรักษา ผลที่ได้รับคือ การสร้าแผนการบำรุงรักษาของระบบทำความเย็นแบบ Contact Plate freezer โดยครอบคลุมแต่ละรูปแบบการขัดข้องของเครื่องจักร ซึ่งจะช่วยลดความขัดข้องของเครื่องจักรลง และลดลงานบำรุงรักษาที่เกิดความจำเป็น th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ 2549 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject เครื่องจักร - - การบำรุงรักษา th_TH
dc.title การพัฒนาระบบการบำรุงรักษาโดยพิจารณาความน่าเชื่อถือของเครื่องจักรเป็นสำคัญ th_TH
dc.title.alternative Development of the reliability-centered maintenance system on machinery en
dc.type Research th_TH
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative The Reliability-Centered Maintenance (RCM) system is an industrial approach used to identifying and assessing the policies or strategies that will manage the firm's physical assets, and used to recognizing the most effective maintenances criteria for machinery and compartments that focused on reliability performance of the systemic operation context. It also establishing in decrease or eradicate the over-preventive maintenance schedules by using the equipment malfunction techniaue that consisted of proactive maintenance tasks and default maintenance actions This research was operational applied the RCM system concept to developing the factory's maintenance plan which place in the frozen-marine product industry. The contactplate Freezer equipment of the factory had been highly frequency malfunction which may due to ineffective designed maintenance system. The analyzed maintenance plan that have been used over ten years ago had shown only weekly maintenance schedule on general checklist task and partly enging washing maintenance task, so that the mean time to failure can't accurately predication Nevertheless, functional failure of the machinery may be suddenly occurrence that result directly in directly and highly negative impact to the firm' production. In addition, the maintenance plan not only uncovering the essential maintenance and optimal frequency task but also has much of unnecessary tasks but also has much of unnecessary tasks or over-maintenance plan system based on the RMC system concepts which have seven steps following; 1)system selection and data collection 2) detremine the criticality 3) determine the specification of functional failure 4) identifying functional failure mode 5) causal and consequence analysis 6) causal maintenance strategic analysis 7) selection of maintenance strategies and assigning maintenance tasks to equipment. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account