DSpace Repository

การพัฒนาหลักสูตรอบรมทักษะการจัดการความรู้ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

Show simple item record

dc.contributor.author ประนอม โอทกานนท์ th
dc.contributor.author รัชนีภรณ์ ทรัพย์กรานนท์ th
dc.contributor.author วารี กังใจ th
dc.contributor.author สิริลักษณ์ โสมานุสรณ์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:21Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:21Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1241
dc.description.abstract ผู้สูงวัยที่มีสุขภาพดีและผู้สูงวัยที่มีโรคเรื้อรังแต่ก็สามารถดูแลตนเองได้ดี นับว่าเป็นบุคคลต้นแบบ สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ ภูมิปัญญาและความรู้ฝังลึก เป็นประโยชน์ต่อคนรอบข้างได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงเพื่อพัฒนาหลักสูตรอบรมทักษะการจัดการความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้ผู้สูงวัยทำหน้าที่จัดการเพื่อให้ความรู้ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในตัวตนของผู้สูงวัยเอง และของกลุ่มผู้สูงวัยด้วยกันเป็นประโยชน์ต่อคนอื่น การวิจัยดำเนินการเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 เสาะหา ศึกษาปัญหาความต้องการการพัฒนาของผู้สูงวัย ได้ผู้สูงวัยจำนวน 38 คน ระยะที่ 2 ยกร่างหลักสูตรอบรมจากข้อมูลระยะที่ 1 พิจารณาความเป็นไปได้ ความเหมาะสมของหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน หลักสูตรจำนวน 45 ชั่วโมง พัฒนามาจากแนวคิดชุมชนนักปฏิบัติ (CoP.) การเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และแนวคิดมนุษยนิยม การจัดการเรียนการสอน เน้นการศึกษาเฉพาะกรณี การฝึกการแสดงออก การเป็นผู้นำการถ่ายทอด เล่าเรื่อง แบ่งปันประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความรู้ฝังลึก ถอดบทเรียนและบันทึกในเรื่องที่สนใจ ทำการวัดประเมินผลผู้เรียนด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการประเมินตนเองของผู้เรียน ระยะที่ 3 ประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรด้วยการวิเคราะห์ค่าสถิติ t เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อน-หลัง การใช้หลักสูตร รวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือวัดความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพการจัดการความรู้ และการประเมินตนเองด้านทักษะการแสดงออกของผู้นำ เครื่องมือมีความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงวิเคราะห์ด้วยสถิติ KR-20 เท่ากับ 0.89, 0.76 และ 0.79 ตามลำดับ ผลการทดลองใช้หลักสูตร พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ และทักษะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ค่า t=3.70, 10.78 และ 7.25 ตามลำดับ) แสดงว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ th_TH
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนงบประมาณเงินเรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2556 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การจัดการความรู้ th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ th_TH
dc.subject หลักสูตร th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การพัฒนาหลักสูตรอบรมทักษะการจัดการความรู้ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ th_TH
dc.title.alternative A development of training curriculum on health promotion knowledge management skills for the elders en
dc.type Research th_TH
dc.year 2556
dc.description.abstractalternative Healthy elders and independent long term care elders have potentiality to serve as community health resource persons. This study aimed to develop training curriculum on health promotion knowledge managements skills for the elders. The training divided into 3 phases. Phase 1. recruitment and assessing the elder knowledge management skills needed. Thirty-eight elders participated in the program. Phase 2. construction of the training curriculum based on the findings of phase1, criticized and approved by 6 nurse experts. Community of practice (CoP.), student-centered and humanistic concept were used as curriculum design for 45 hours of study Teaching and learning activities emphasized on case study, assertiveness training, storytelling; shared and exchanged tacit and explicit knowledge, and followed by recording of lesson learned. Phase 3, testing program effectiveness by using statistic t-test to compare pre-post test scores on knowledge of health promotion, knowledge management, and elders self evaluation of leadership skills The instruments used for collecting data were tested for content validity, the reliability analyzed by KR-20 were equal to 0.89, 0.76 and 0.79 respectively. The study revealed that the learners had knowledge and skills higher than before participation in the program with statistical significance at the level of 0.05 (t = 3.70, 10.78, 7.25). The participants also expressed their joyful and happiness in attending the program. For suggestions, enquiry on the others teaching learning methods enhancing knowledge management skills for the elders should be further study en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account