DSpace Repository

การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความหนาในการต่อเกจบล็อค

Show simple item record

dc.contributor.author วิศรุต คงสกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1213
dc.description.abstract เกจบล็อคหรือแท่งความยาวมาตรฐานเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติ ถ้าห้องปฏิบัติการมีความจำเป็นที่จะประกบเกจบล็อคก็ควรต้องรูขนาดของค่าความหนารอยต่อจากการประกบเกจบล็อค เพื่อให้ได้ผลการสอบเทียบเครื่องมือที่มีความถูกต้อง ดังนั้นปัจจัยที่มีผลต่อค่าความหนาของการประกบเกจบล็อคจากงานวิจัยนี้ได้แก่ การประกบเกจบล็อคด้วยวิธีไม่ใช้ตัวกลางช่วยในการประกบจะมีขนาดของความหนาของรอยต่อ 0.1 ไมโครเมตร/รอยต่อ และถ้าประกบเกจบล็อคด้วยวิธีใช้ตัวกลางช่วยในการประกบจะมีขนาดของความหนาของรอยต่อ 0.3 ไมโครเมตร/รอยต่อ ถ้าจะได้ค่าความหนาของรอยต่อการประกบเกจบล็อคมีขนาดตามนี้ จะต้องควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการประกบเกจบล็อคดังนี้ 1. ระยะเวลาในการประกบเกจบล็อคตามขนาดของเกจบล็อคที่ประกบได้แก่เกจบล็อคขนาดบาง (0.5-10 mm.) ใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที, เกจบล็อคขนาดกลาง (10-50 mm.) ใช้เวลาอย่างน้อย 90 นาที ก่อนการนำ เกจบล็อคไปใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐานในการสอบเทียบ 2. ความเรียบผิวหน้าสัมผัสเกจบล็อคถ้าเกจบล็อคมีค่าความเรียบผิวหน้าสัมผัสเกิน 1 ไมโครเมตรขึ้นไป ไม่ควรที่จะนำเกจบล็อคมาประกบกัน 3. ความสามารถของคนที่จะทำการประกบเกจบล็อคควรจะเป็นคนที่มีประสบการณ์ในการสอบเทียบไม่ต่ำกว่า 2 ปีขึ้นไป ถึงแม้ว่าค่าความหนาจากการประกบเกจบล็อคจะไม่มีผลต่อการประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัดของเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติก็ตามแต่ถ้าสามารถควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อค่าความหนาในการประกบเกจบล็อคได้ก็จะทำให้ผลการสอบเทียบมีความถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเพิ่มมากยิ่งขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การสอบเทียบเครื่องมือวัด th_TH
dc.subject เกจบล็อค th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความหนาในการต่อเกจบล็อค th_TH
dc.type Research
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative Gauge Block are secondary standard for dimensional. In case of the wringing of gauge block id needs, a wringing thickness is essential to achieve high accuracy. This research was carried out to investigate the effect of excessive wringing medium on the accuracy of measurement. The wringing thickness without an excessive medium such as vasaline was found to be 0.1 µm/gap while the one with an excessive medium was 0.1 µm/gap. The critical factor to achieve high accuracy for the wringing of gauge block are 1) temperature stabilization, i.e., thin gauge block (0.5-10 mm), medium gauge block (10-50 mm) and thick gauge block (50-100 mm) require a minimum holding time for 30 min, 60 min and 90 min, respectively. 2) flatness of the wringing gauge block must be less than 1 µm. 3) minimum experience of 2 years is required for the calibration officer. These controlled factors will eventually affect the accuracy of measurement. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account