DSpace Repository

การศึกษาพลังงานการแตกร้าวและความคงทนของคอนกรีต ที่ผสมสารปอซโซลาน: เถ้าลอยและตะกรันจากการหลอมเหล็ก

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.author ปรัชญา จูเหล็ง
dc.contributor.author นัฐภา ภาระศรี
dc.contributor.author ณรงฤทธิ์ เย็นอารมณ์
dc.contributor.author เกศสุดา เลาอารีกิจ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:23Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:23Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1196
dc.description.abstract โครงการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพลังงานการแตกร้าว และความคงทนของคอนกรีตผสมสารปอซโซลาน ซึ่งได้แก่ เถ้าลอยและตะกรันจากากรหลอมเหล็ก สำหรับการศึกษาพลังงานการแตกร้าวของคอนกรีต ได้ศึกษาส่วนผสมของคอนกรีตต่าง ๆ ได้แก่ คอนกรีตที่ไม่ได้ผสมสารผสมเพิ่มใด คอรกรีตที่ผสมสารลดปริมาณน้ำ 20% 40% และ 60% โดยน้ำหนักของวัตถุประสาน คอนกรีตที่ผสมซิลิกาฟูมเป็นสารผสมเพิ่มในปริมาณ 5% และ15% โดยน้ำหนักของวัตถุประสาน โดยทำการทดสอบเพื่อหาพลังงานการแตกร้าวของคอนกรีตที่มีอายุ 7 วัน 28 วัน และ 91 วัน คอนกรีตที่มีตะกรันจากการหลอมเหล็กเป็นสารผสมเพิ่มในปริมาณ 10% 20% และ 30% โดยน้ำหนักของวัตถุประสาน และคอนกรีตที่มีอาคิลิกไฟเบอร์เป็นสารผสมเพิ่มปริมาณ 0.5% 1.0% และ 1.5%โดยปริมาตรของคอนกรีต ซึ่งทำการทดสอบพลังงานการแตกร้าวของคอนกรีตที่อายุ 28 วันเท่านั้น และทดสอบกำลังรับแรงอัดและรงดึงของคอนกรีตทุกส่วนผสมที่มีอายุ 28 วัน จากการทดลองพบว่า ค่าพลังานของการแตกร้าวของคอนกรีตอัตราส่วนผสมต่างๆ มีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่ออายุของคอนกรีตมากขึ้น และคอนกรีตที่มีอาคิลิกไฟเบอร์เป็นส้ววนผสมมีพลังงานการแตกร้าวของคอนกรีตสูงที่สุด สำหรับการศุกษาความคงทนของคอนกรีต ได้ศึกษาการแพร่ของคลอไรด์ในส่วนผสมของซีเมนต์เพสต์ต่าง ๆ ได้แก่ ซีเมนต์เพสต์ที่ไม่ได้ผสมสารผสมเพิ่มใด ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเถ้าลอยเป็นสารผสมเพิ่ม ในปริมาณ 20% 40% และ 60% โดยน้ำหนักของวัตถุประสาน จากผลการทดสอบพบว่า ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเถ้าลอยมีการแพร่คลอไรด์ต่ำที่สุดส่วนซีเมนต์เพสตีท่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็ก มีการแพร่ของคลอไรด์สูงที่สุด th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ความคงทนของคอนกรีต th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การศึกษาพลังงานการแตกร้าวและความคงทนของคอนกรีต ที่ผสมสารปอซโซลาน: เถ้าลอยและตะกรันจากการหลอมเหล็ก th_TH
dc.title.alternative A study of fracture energy and durability of concrete with pozzolans: fly ash and blast furnace slag en
dc.type Research
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative The objectives of this research project are to study fracture energy and durability of concrete with pozzplanic materials, which are fly ash blast furnace slag. In the study of fracture energy concrete, various mix proportion of concrete were tested such as concrete without admixture, concrete with superplasticizer 2% by weight of binder, concrete with fly ash 20% 40% and 60% by weight of binder, concrete with silica fume 5% and 15% weight of binder. The fracture energy of these concrete was investigated at 7, 28 and 91 days. For concrete with blast-furnace slag 10%,20% and 30% by weight of binder and concrete with acrylic fiber 0.5%, 1.0% and 1.5% by volume of concrete. The fracture energy of concrete was investigated at 28 days only. The compressive strength and tensile strength of all mix proportions of concrete were tested at 28 day. From experimental results, the fracture energy of various types of concrete increased with the increase of age, and concrete with acrylic fiber had t he highest fracture energy. In the study of durability of concrete, the chloride diffusion in cementitious past was investigated. Cement past with no admixture, cement with fly ash 20% 40% and 60% by weight of binder and cement past with blast slag 10%, 20% and 30% by weight of binder were investigated. From experimental results, it is noted that paste with fly ash had lower chloride than past with furnace slag en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account