dc.contributor.author |
วิทวัส แจ้งเอี่ยม |
|
dc.contributor.author |
ศุภศิลป์ ทวีศักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
อนันธชัย ฉายแสง |
|
dc.contributor.author |
อนุชิดา พบพิมาย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:22Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:22Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1193 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ไส้เดือนดินต่อการย่อยสลายกากตะกอนเยื่อกระดาษ (Waste Paper Sludge; WPS) จากโรงงานอุตสาหกรรมกระดาษ ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนการคัดเลือกจุลินทรีย์จากการนำมูลของไส้เดือนดิน 3 สายพันธุ์ เพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ จากนั้นทำการเลือก
จุลินทรีย์ของไส้เดือนดิน นำมาย่อยสารละลายเซลลูโลสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นนำเชื้อจุลินทรีย์จากไส้เดือนดินทั้ง 3 สายพันธุ์ทดลองย่อยกากตะกอนเยื่อการดาษที่ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ที่ต่างกัน คือ นำเชื้อจุลินทรีย์ 1 มิลลิลิตรและ 3 มิลลิลิตร ของไส้เดือนดิน 3 สายพันธุ์มาย่อยกากตะกอนเยื่อกระดาษที่ปริมาณ 2 กรัม เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่าเชื้อจุลินทรีย์จากไส้เดือนดินสายพันธุ์ African Night Crawler สามารถย่อยกากตะกอนเยื่อกระดาษให้มีความเข้มข้นของกลูโคสเท่ากับ 1.11×10¯² ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรและ 1.32×10¯² ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร เชื้อจุลินทรีย์จากไส้เดือนดินสายพันธุ์ Blue worm สามารถย่อยกากตะกอนเยื่อกระดาษให้มีความเข้มข้นของกลูโคสเท่ากับ 0.60×10¯² ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรและ 0.75×10¯² ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร เชื้อจุลิยทรีย์จากไส้เดือนดินสายพันธุ์ Tiger worm สามารถย่อยกากตะกอนเยื่อกระดาษให้มีความเข้มข้นของกลูโคสเท่ากับ 0.94×10¯² ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ 1.06×10¯² ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ จากผลการทดลองพบว่าไส้เดือนดินสายพันธุ์ African Night Crawler มีประสิทธิภาพในการย่อยกากตะกอนเยื่อกะดาษจากโรงงานอุตสาหกรรมกระดาษได้ดี จากนั้นนำไส้เดือนดินสายพันธุ์ African Night Crawler มาย่อยกากตะกอนเยื่อกระดาษโดยนำไส้เดือนดินน้ำหนัก 1 กรัม มาย่อยกากตะกอนเยื่อกระดาษหนัก 2 กรัม พบว่าความเข้มข้นของกลูโคสมีค่าเท่ากับ 0.10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
Abstract
This research aims to study a feasibility of using earth worms for degrading waste paper sludge from tissue paper industry. The procedure of this study includes selection of microorganisms from earth worm’s faeces of three different earth worm species and cultivation it in agar. Then microorganisms are selected and are used for degrading cellulose solution at 24 hour duration. In addition, selected microorganisms from three different earth worms are used for degrading waste paper sludge, 1 ml and 3 ml of microorganism solution of each earth worm species are used for degrading 2 gram of waste paper sludge. The result have shown that glucose production in microgram/milliliter (µg/ml), after degrading the waste paper sludge are, 1.11×10¯² and 1.32×10¯² by African Night Crawler earth worm. While, 0.60×10¯² and 0.75×10¯² by Blue worm and 0.94×10¯² and 1.06×10¯² by Tiger worm. Thus, microorganisms from African Night Crawler earth worm is the most effective among three different earth worm species worm for degrading waste paper sludge. Furthermore, the African Night Crawler earth worm is used for degrading waste paper sludge, 1 g of the earth worm : 2 g of paper sludge is tested. The glucose produced is collected after a specific time and analyzed, 0.1 microgram/milliliter. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กากของเสียจากโรงงาน |
th_TH |
dc.subject |
ไส้เดือน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาการใช้ไส้เดือนดินย่อยสลายกากของเสียจากโรงงานผลิตกระดาษทิชชู. |
th_TH |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.year |
2555 |
|