DSpace Repository

การศึกษาพฤติกรรมของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมสตีลไฟเบอร์สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.author สราวุฒิ อินทรบ
dc.contributor.author กิติศักดิ์ ใจตรง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1174
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมกำลังรับแรงตัดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่ผสมเส้นใยเหล็ก 3 ชนิด ได้แก่ ชนิดยาวและงอปลาย ชนิดสั้นและงอปลาย และชนิดลอน ในปริมาณ 0.25%,0.50% และ 0.75% โดยปริมาตรของคอนกรีต รวมทั้งศึกษากำลังรับแรงอัดกำลังรับแรงดึงและกำลังรับแรงดัดของคอนกรีตที่ผสมเส้นใยด้วย พร้อมทั้งเสนอวิธีการคำนวณกำลังรับแรงดัดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่ผสมเส้นใยเหล็กที่สภาวะต่างๆ ได้แก่ เมื่อคานเริ่มแตกร้าว เมื่อเหล็กเสริมคราก และเมื่อรับกำลังสูงสุด และใช้วิธีการคำนวณที่เสนอนี้คำนวณกำลังรับแรงดัดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมเส้นใยเหล็กของผู้แต่งและนักวิจัยอื่นๆด้วย จากผลการทดลองพบว่า เมื่อใช้ปริมาณเหล็กเสริมในพื้นที่คอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวเท่ากันและผสมเส้นใยเหล็กในปริมาณ 0.50 % โดยปริมาตรคอนกรีต พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่ผสมเส้นใยเหล็กชนิดยาวและงอปลายสามารถรับกำลังรับแรงดัดได้สูงกว่าพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่ผสมเส้นใยเหล็กชนิดลอน และชนิดสั้นและงอปลาย ตามลำดับและเมื่อเปรียบเทียบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมเส้นใยเหล็กชนิดยาวและงอปลายในปริมาตร 0.25%,0.50% และ 0.75% โดยปริมาตรของคอนกรีตพบว่า กำลังรับแรงดัดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวเพิ่มสูงขึ้นตามลำดับ และพบว่าเมื่อผสมเส้นใยเหล็กชนิดยาวและงอปลายที่ปริมาตร 0.50% ของปริมาตรคอนกรีตสามารถลดปริมาณเหล็กเสริมพื้นได้มากว่า 7.1% โดยที่กำลังรับแรงดัดใกล้เคียงกับพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ไม่ผสมเส้นใยเหล็ก และจากวิธีการคำนวณกำลังแรงดัดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่ผสมเส้นใยเหล็กที่สภาวะต่างๆที่เสนอขึ้นเพื่อใช้ทำนายค่ากำลังรับแรงดัดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่ผสมใยเหรับแรงดัดจากการทำนายมีค่าใกล้เคียงกับค่ากำลังรับแรงดัดจากการทดสอบของผู้แต่งและงานวิจัยอื่นๆด้วย โดยมีความคลาดเคลื่อนในเกณฑ์ที่สามารถยอมรับได้ th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject คอนกรีตเสริมเหล็ก th_TH
dc.title การศึกษาพฤติกรรมของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมสตีลไฟเบอร์สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม th_TH
dc.title.alternative A study of behavior of reinforced concrete slab with steel fiber for industrial factory en
dc.type Research
dc.author.email twc@buu.ac.th
dc.year 2550
dc.description.abstractalternative This research is aimed to study the flexural strength behavior of reinforced concrete (RC) one-way slab with three types of steel fibers, which were long and hooked, short and hooked and crimped at the fiber content of 0.25%, 0.50% and 0.75% by volume of concrete. The compressive strength, tensile strength and flexural strength of concrete with steel fibers were also investigated. The calculation method of the flexural strength of RC one-way slab at various states, which were cracking state, yielding state and ultimate state, was proposed. This proposed method was applied to determine the flexural strength of RC one-way slabs with steel fibers tested by authors and other researchers. From the experimental results, when the steel reinforcement in RC one-way slab was the same and the steel fiber with the content of 0.5% by volume of concrete was introduced, the RC one-way slab mixed with long and hooked steel fiber had higher the flexural strength than those with crimped and short and hooked steel fibers, respectively. By comparing the flexural strength of the RC one-way slab with long and hooked steel fiber at the fiber content of 0.25%, 0.50% and 0.75% by the volume of concrete, it was found that the flexural strength of RC one-way slab increased with the increase of the fiber content. it was also found that the steel content of the RC one-way slab with the long and hooked steel fiber of 0.50% by the volume of concrete can be reduced 7.1% when compared with the RC one-way slab with no fiber, but the flexural strength still was the same. Finally, the proposed method tor calculating the flexural strength of reinforced concrete one-way slab with steel fiber at various states can predict the flexural strength of reinforced concrete one-way slab of authors and other researchers with the satisfactory error en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account