DSpace Repository

การพัฒนาตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาออกไซต์ผสมของแลนทาเนียแลเซอร์โคเนียสำหรับปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซต์ไฮโดรจิเนชัน

Show simple item record

dc.contributor.author สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.author เอกสิทธิ์ นามแก้ว
dc.contributor.author มนตรี ฉิมอินทร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1164
dc.description.abstract โครงงานนี้ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของออกไซต์ผสม La2O3และZrO2ซึ่งเตรียมโดยกรรมวิธีการตกตะกอนร่วม (Impregnation)ที่อัตราส่วน 25:27, 50:50 แล 75:25 แลกรรมวิธีการอิมเพคเนชัน (Impregnation) ที่อัตราส่วน 25:75 แล 50:50 เพื่อเปรียบเทียบกับออกไซต์บริสุทธิ์ หลังจากเผาออกไซต์ที่ 600c ออกไซต์จะถูกนำไปทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี ได้แก่ เฟส, พื้นที่ผิวจำเพาะ แลความเป็นกรด-เบสของพื้นที่ผิว ด้วยกรรมวิธีการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์, การดูดซับไนโตรเจน, การคายซับแอมโมเนียที่อุณหภูมิต่างๆ และการคายซับคาร์บอนไดออกไซต์ที่อุณหภูมิต่างๆ ตามลำดับ พบว่ากรรมวีการเตรียมแลปริมาณของ La3+มีผลต่อเฟส พื้นที่ผิวจำเพา จำนวนกรดแลเบส แลความแข็งแรง เมื่อเพิ่มปริมาณ La3+ พบว่าออกไซต์ผสมสังเคราะห์จาก 2 กรรมวิธีการ มีโครงสร้างแบบ อสัญฐาน พื้นที่ผิวจำเพาะของออกไซต์สังเคราะห์โดยกรรมวิธีการตกตะกอน มีพื้นที่ผิวลดลงอย่างชัดเจน 60-90% เมื่อเทียบกับออกไซต์บริสุทธิ์ สันนิษฐานว่าเกิดสารละลายของแข็ง (Solid Solution) แบบ interstitial ออกไซต์ผสมตรียมโดย 2 กรรมวี มีปริมาณของกรดและเบสสูงกว่า ปริมาณของกรด-เบสบนพื้นผิวของ ZrO2 20-70% ส่วนความแข็งแรงของเบสและกรดบนพื้นผิวออกไซต์ผสมส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอุณหภูมิของการคายซับคาร์บอนมอนอกไซต์และแอมโมเนีย 380-450 C และ 400-500 C ตามลำดับ ซึ่งอยู่ระหว่างความแข็งแรงของเบสแลกรดของ ZrO2 และ La2O3 th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยแลพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การตกตะกอน (เคมี) th_TH
dc.subject ปฏิกิริยาเคมี th_TH
dc.subject ออกไซด์ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การพัฒนาตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาออกไซต์ผสมของแลนทาเนียแลเซอร์โคเนียสำหรับปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซต์ไฮโดรจิเนชัน th_TH
dc.title.alternative Development of catalys support La2 O3 and ZrO2 mixed oxide for CO hydrogenation en
dc.type งานวิจัย th_TH
dc.year 2550
dc.description.abstractalternative Physicochemical properties of ZrO2-La2O3 mixed oxides, prepared by two methods i.e. precipitation and impregnation at different La3+fZr4+ molar ratios, were investigated at present. The La3+lZr4+ molar ratios were varied at 25:75, 50:50 and 75:25 namely as PxLa-ZrO2 of which x is number of La3+ ratio. in case of impregnation, Lea‘/Zr“ molar ratios were 25:75 and 50:50 and the synthesized oxide was named as hLa-ZrO2. The oxide was characterized by means of X-ray diffraction, Brunauer- Emmett-Teller, NH3 temperature programmed desorption and CO2 temperature programmed desorption compared with pure ZrO2 and pure La2O3. The results indicated that amount of La3* and the preparation methods have an effect on specific surface areas, phases and a number of acid and base sites and their strengths. P25La-ZrO2 contained mixed phases of monoclinic and tetragonal alike pure ZrO2. Amorphous mixed oxide was obtained with additional La3+ higher than 25% and I25La- ZrO2 exhibited only tetragonal phase. Surface areas of precipitated oxide distinctly decreased -60-90% compared to the pure oxide. This is because an interstitial solid solution was possibly formed. Acid and base properties of the mixed oxide were measured by means of NH3 and CO2 TPD, respectively. The mixed oxide possessed a number of acid and base sites higher than those of pure ZrO2 at ~20-70%. The acidic and basic desorption temperature were increased to 380-450 °C and 400-500°C, respectively. lt may conclude that acid and base strength of the mixed oxide were in between of pure ZrO2 and pure La2O3. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account