DSpace Repository

การสังเคราะห์อลูมินาและโดปอลูมินาโดยวิธีการโซลเจล

Show simple item record

dc.contributor.author สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.author โชติพันธุ์ ปนะทีปธีรานันต์
dc.contributor.author ประภัทร์ แดงเนียม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:19Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:19Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1142
dc.description.abstract โครงการนี้ศึกษาและเปรียบเทียบกรรมวิธีการสังเคราะห์อะลูมินา โดยกรรมวิธี 1.โซลเจล, 2.โซล-ตกตะกอน โดยใช้อลูมิเนียมไนเตรตนอนไฮเดรต (Al (No3)3.9H2O) ละลายในเอทานอล 99.99% เป็นสารตั้งต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของผลอลูมินาที่ 600 C และ 1150 C ก่อนการขึ้นรูป ได้แก่ ขนาดอนุภาค,ความหนาแน่น,เฟส,พื้นที่ผิวจำเพาะ และการกระจายตัวของรูพรุน ทดสอบโดยเครื่องมือวิเคราะห์ดังต่อไปนี้ SEM (Scanning Electron Microscope), Micro Pycnometer, X-ray diffraction และวิธีการ BET (Brunauer-Emmet-Teller Measurement) ตามลำดับ หลังจากนั้นผงอะลูมินาถูกนำขึ้นไปขึ้นรูป เพื่อทดสอบความหนาแน่นและวัดค่าความโปร่งใสโดยเครื่อง UV-visible spectroscopy จากการทดลองพบว่า ขนาดของอนุภาคเตรียมโดยทุกกรรมวิธีการให้ผลคล้ายคลึงกัน คือ มีขนาดอนุภาคโดยเฉลี่ย < 10 ไมโครเมตรหลังจากการเผาที่ 1150 C ให้เฟส a-Al2O3 และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5.000-6.000 g/cm อะลูมินาเตรียมโดยกรรมวิธีเหล่านี้ เมื่อนำไปขึ้นรูปพบว่าไม่โปร่งใส มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 6.000-8.000 g/m จึงควรพัฒนากรรมวิธีการสังเคราะห์ เพื่อพัฒนาความใสของอะลูมินาต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนการวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject โซลเจล th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การสังเคราะห์อลูมินาและโดปอลูมินาโดยวิธีการโซลเจล th_TH
dc.title.alternative Synthesis of Alumina and doped alumina by Sol-gel method en
dc.type Research
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative Alumina preparation methods i.e. sol-gel method, sol-precipitation and precipitation, ware studied in this project by using aluminium nitrate nonahydrate dissolved in 99.99% ethanol as a starting material. A purpose of the project is to compare characteristic properties of all synthesized alumina fired at 600°C and 1150 C l.e. particle size distribution, bulk density, phase, specific surface area and pore size distribution. These properties were characterized by SEM (Scanning Electron Microscope), Micro Pyconometer, X-ray diffraction, and BET surface area measurement, respectively. Aluminapowder was fabricated after calcinations at 1150 C and transparency was identified by UV-visible spectroscopy. The particle slze of all alumina powder was on an average less than10 um. After high temperature calcinations,a-Phase was obtained for all alumina powder and density for all was in a rage of 5.000-6.000 g/cm. All fabricated alumina synthesizedvia the different methods were not transparent and their densities were in a range of 6.000-8_.O00 glcms. Hence, preparation method should be researched in further to improve a transparency of fabricated alumina en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account