dc.contributor.author |
สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:18Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:18Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1133 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาคุณลักษณะของออกไซต์ผสมเซอร์โคเนียมออกไซต์และแลนทาเนียมออกไซต์สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งออกไซด์ผสมทั้งสองชนิดเตรียมจากวิธีการที่แตกต่าง ได้แก่ การตะกอนและการเคลือบฝัง ที่อัตราส่วนโดยโมลของ La มีค่าเท่ากับ 10,25,50 และ 75% ตามลำดับ ตัวเร่งปฏิกิริยาบนออกไซด์และออกไซด์ผสมถูกนำมาทดสอบคุณสมบัติทางเคมี และกายภาพ ได้แก่ Temperature programmed reduction (TPR) X-ray diffraction, การดูดซับทางกายภาพของก๊าซไนโตรเจนมาการดูดซับเชิงเคมีของก๊าซไฮโดเจน และ Scanning Electron Microscope and Energy Dispersive X-Ray Spectrometer กรรมวิธีการเตรียมตัวรองออกไซด์ผสมแตกต่างกัน ส่งผลให้โครงร่างผลึกของเซอร์โรเนียมออกไซด์แตกต่างกันที่อัตราส่วน La/Zr ต่างกัน เมื่อเพิ่มปริมาณของแลนทาเนียมออกไซด์ตัวเร่งปฏิริยา พบว่าความสามารถในการเกิดปฏิกิริยารีดักชันของตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่ม และอุณหภูมในการเกิดปฏิกิริยารีดักชันลดลง ค่าพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่มเติม La 10% โดยโมล และพื้นที่ผิวลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อเพิ่มปริมาณ La มากกว่า 10% โดยโมล การกระจายตัวของโลหะโคบอลต์บนตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งคำนวณจากปริมาณไฮโดรเจนที่ดูดซับ จะมีค่ามากที่สุดสำหรับตัวเร่งปฏิกิริยา Co/ZrO2 และปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์ทดสอบที่อุณหภูมิ 200 C ภายใต้ความดันบรรยากาศ ในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดในช่วงเวลา 6 ชั่วโมง พบว่าการเติม La ในตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาโดยวิธีการตกตะกอน ช่วยปรับปรุงความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาและเสถียรภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยา |
th_TH |
dc.subject |
เซอร์โครเนียมออกไซด์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์บนตัวรองรับเซอร์โคเนียมออกไซต์และแลนทาเนียมออกไซต์สำหรับปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซด์ไฮโดรจิเนชัน |
th_TH |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2554 |
|
dc.description.abstractalternative |
In the present study, the characteristics of zirconia and lanthana mixed oxides supported cobalt catalyst in CO hydrogenation were investigated. Ziconia and lanthana mixed oxides were prepared by different methods: precipitation, and impregnation with mol% of La at 10,25,50 and 75% respectively. All oxide was characterized by means of Temperature programmed reduction (TPR) X-ray diffraction, Brunauer- Emment-Teller, H2 Chemisorption, Scanning Electron Microscope and Energy Dispersive X-Ray Spectrometer compared with the characteristics of pure ZrO2 and pure La2O3. Preparation methods results in different phases of zirconiaat various La/Zr molar retios. The reduction behaviors of catalyst were investigated by Temperature-Programmed Reduction method, it was found that the increased La content significantly enhances reducibility of catalyst and decrease reduction temperature. The BET surface area was improved by addition La 10 mol% and then apparently decreased while increasing more La content. Cobalt dispersion calculated from the H2 chemisorption results for 10Co/ZrO2 is the highest compared to others. The catalytic testing for CO hydrogenation was carrier out 220 C under atmospheric pressure in fixed-bed reactor. Time-on-stream conversion for CO hydrogenation give catalytic activities within 6 h. Additional Lai+ 10 mol% supports derived from precipitation was found to improve catalytic activities and stabilities, whereas impregnation at various La mol% gave inactive results and had no significant change of metal dispersion and catalytic activity. |
en |