dc.contributor.author |
สุพจน์ ศิริเสนาพันธ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:18Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:18Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1128 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของท่อความร้อนที่มีวัสดุพรุน (wick) แบบลวดตาข่าย (screen wick) กำหนดใช้ท่อแดงเป็นท่อความร้อน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 2.54 มิลลิเมตร รับแหล่งพลังงานความร้อน 100 W แลใช้น้ำเป็นของไหลงาน
การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของท่อความร้อนจอยู่ภายใต้ขีดจำกัดการถ่ายโอนความร้อนทั้ง 5 อย่างซึ่งประกอบด้วย ขีดจำกัดการถ่ายเทความร้อนเนื่องจากความหนืด ขีดจำกัดการถ่ายเทความร้อนเนื่องจากความเร็วเสียง ขีดจำกัดการถ่ายเทความร้อนเนื่องจากของเหลวหลุดลอยตามไอ ขีดจำกัดการถ่ายเทความร้อนเนื่องจากแรงดันรูเข็ม ขีดจำกัดการถ่ายเทความร้อนเนื่องจากการเดือด เพื่อศึกษาสัดส่วนของพื้นที่ท่อความร้อนที่มีประสิทธิผลการถ่ายโอนความร้อนแลอัตราการถ่ายโอนความร้อนสูงสดของท่อความร้อนที่สร้างขึ้นจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ พบว่าที่สัดส่วนความยาวช่วงระเหย (Le) ต่อช่วงอะเดียแบติก (La) ต่อช่วงการควบแน่น (Le) เป็น 1:1:2 จะได้ค่าประสิทธิผลมากที่สุด ส่วนสัดส่วน 2:0:1 ได้ค่าประสิทธิผลน้อยที่สุด และดูค่าการถ่ายโอนความร้อนสูงสุดแล้วพบว่าที่สัดส่วน 1:2:1 เท่ากับ 2:1:1 และเท่ากับ 2:0:1 ซึ่งทั้งสามสัดส่วนดังกล่าวได้ค่าอัตราการถ่ายโอนความร้อนสูงสด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยทุนอุดหนนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
ความร้อน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
|
dc.title |
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของท่อความร้อน |
th_TH |
dc.title.alternative |
Mathematical modeling of heat pipe |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2554 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research builds mathematical models of h eat pipe with porous (wick) a wire mesh (screen wick) The copper pipe is a heat pipe. The outside diameter of 2.54 mm and 100 W power supply, heat and water as working fluid.
Mathematical modeling of the heat pipe is subject o limits on the transfer of the five, which include Viscous Limitation. Sonic Limitation. Entrainment Limitation. Capillary Limitation. Boiling Limitation. To study the ratio of the heat pipe with heat transfer efficiency and rate of heat transfer tubes of the heat generated by a mathematical model. Found that the ratio of the length of the evaporator (Le) to the adiabatic (La) o the condensed phase (Le) is a 1:1:2 ratio of 2:0:1 is the most effective and least cost effective. Most And he maximum heat transfer and found that the ratio of 2:1:1 and 1:2:1, which is both the maximum heat transfer rate. |
en |