dc.contributor.author |
ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
ประภา นันทวรศิลป์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:16Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:16Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1103 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ดัชนีทางชีวภาพและอาการแสดงนำมาประเมินการสัมผัสสารตัวทำลายอินทรีในกลุ่มของ Aromatic Hydrocarbons ของกลุ่มช่างไม้ (ศึกษาเปรียบเทียบที่เรือนจำของกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจำนวนตัวอย่างทั้งหมดในการการศึกษามี 193 คน เป็นกลุ่มศึกษา 97 คนและกลุ่มควบคุม 96 คน เป็นเพศชายทั้งหมด กลุ่มศึกษามีอายุเฉลี่ย 34.3 ปีและ 33.5 ปีสำหรับกลุ่มควบคุม สภาพการทำงานในแต่ละวันของกลุ่มศึกษาที่มีหน้าที่ช่างไม้ช่างไม้นาน 4 ชั่วโมงต่อวัน (ร้อยละ 41.2) และมีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายระบบทางเดินหายใจร้อยละ 89.7 โดยที่ร้อยละ 42.3 เท่านั้นที่มีการใช้ผ้าปิดจมูกทุกครั้ง และเมื่อสิ้นสุดการทำงานของกลุ่มศึกษาพบว่าตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 40 มีอาการแสดงเกี่ยวกับการปวดศรีษะ มึนงง มีปัญหาในการนอน ระคายเคือง เวลาลุกขึ้นเร็วๆ ตาจะพร่ามัว เมื่อยล้าทั่วร่างกาย ปากแห้ง แขนขาชาและไอ
ในการเก็บตัวอย่างอาการใช้ Organic Vapor Manitor (3M 3500) ติดตัวบุคคลในระดับหายใจของตัวอย่างที่ศึกษาทั้งหมดและมีการเก็บตัวอย่างปัสสาวะหลังสิ้นสุดการทำงาน พบว่า กลุ่มศึกษามีค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ Dicholromethane 0.42 0.37 ppm,Toluene 11.99 14.85 ppm,Butyl acetate 0.42 0.17ppm,Ethyl acetate 1.76 3.70 ppm,Xylene 0.42 1.07 ppm และ Styrene 0.21 0.91 ppm นอกจากนี้พบว่าค่าเฉลี่ยของปริมาณระดับความเข้มข้นของ Dichloromethane,Toluene และ Anetone ในบรรยากาศการทำงานแบบติดตัวบุคคลระหว่างกลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-vataiue<0.001)และยังพบว่าในกลุ่มศึกษามีค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณระดับความเข้มข้นของ Hippuric acid 863.43 755.11 mg/g Creatinine,Methylhippuric acid 62.35 105.58 mg/g
creatinine,Mandelic acid 268.43 303.17 mg/g creatinine และ acetone 6.71 5.78 mg/L และพบว่าค่าเฉลี่ยของ Hippuric acid และ Madelic acid ระหว่างกลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนับสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) นอกจากนี้แล้วยังพบว่า ปริมาณระดับความเข้มข้นของ Toluene ในบรรยากาศการทำงานแบบติดตัวบุคคลกับปริมาณระดับความเข้มข้นของ Hippuric acid ในกลุ่มศึกษามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.341,p-value=0.006) อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษานี้ทำให้ตระหนักไดว่า กลุ่มช่างไม้ในเรือนจำมีการสัมผัสสารตัวทำลำลายในกลุ่ม Aromatic Hydrocarbons ในขณะปฏิบัติงานและควรจัดอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงอันตรายและวิธีการป้องกัน รวมถึงควรมีอุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2551 มีนาคม 2552 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สารตัวทำละลายอินทรีย์ |
th_TH |
dc.subject |
สารประกอบอินทรีย์ |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ |
th_TH |
dc.subject |
โรคเกิดจากอาชีพ - - การป้องกันและควบคุม |
th_TH |
dc.title |
การใช้ดัชนีทางชีวภาพและอาการแสดงเพื่อประเมินการสัมผัสสารตัวทำละลายอินทรีย์ในกลุ่มของ Aromatic Hydrocarbons ของกลุ่มช่างไม้ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ศึกษาเปรียบเทียบที่เรือนจำของกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Using biomarker and symptoms to assess exposure to aromatic hydrocarbons among woodworkers in Bangkok and the metropolitan area (comparative study in prison, ministry of justice) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2552 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research is cross sectional experimental analysis. The objectives were to evaluate aromatic hydrocarbon exposure in furniture workers by using biological index and symptoms. The study was undertaken in Bangkok and neighboring province. We sample 193 men; 97 cases who worked and 96 controls who did not work with furniture. Mean of age of cases = 34.3 years, control mean age = 33.5 years. Forty one percent of the case group worked at least 4 hours per day, and about 90 percent used respiratory protection, however only 42.3% used only face dust masks. When they finished working, 40% of the cases showed symptoms including headache, confusion, problems sleeping, irritatability, eye irritation or blurred vision, fatigue, dry mouth, numbness in hands and legs and cough.
In collecting air samples a personal “Organic Vaper Monitoe” (3M 3500) was attached to the shirt front at chest level. Urine samples were collected after the work shift. Results of the study group showed average measures of Dicholromethane 0.42 0.37 ppm,Toluene 11.99 14.85 ppm,Butyl acetate 0.42 0.17ppm,Ethyl acetate 1.76 3.70 ppm,Xylene 0.42 1.07 ppm and Styrene 0.21 0.91 ppm Moreover,the mean volume of the concentration of Dichloromethane,Toluene and Anetone in the environment of the workplaces of the study and control groups;as measured by the personal pump, were significantly different (p-vataiue<0.001), Metabolites from urine of the study group was measured to have a mean and standard deviation of Hippuric acid 863.43 755.11 mg/g Creatinine,Methylhippuric acid 62.35 105.58 mg/g creatinine,Mandelic acid 268.43 303.17 mg/g creatinine and acetone 6.71 5.78 mg/liter. The average measures of Hippuric acid and Madelic acid were signficantily different (p-value<0.001) between the study group and control group. The concentration of Toluene in the environment, as measured by the personal pumps, was correlated with the concentration of Hippuric acid in the urine (r=0.341 (p < .006). The subjects of this study were prisoners; nevertheless we should be concerned about their exposure to Aromatic Hydrocarbons solvents while while working. Air monitors as well as training and understanding thr proper use of respiratory protestion should be provided. |
en |