DSpace Repository

ผลของเงินส่งกลับของแรงงานต่อรายจ่ายครัวเรือนในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:15Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:15Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1087
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ใช้ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนในปี พ.ศ. 2552 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเงินส่งกลับของแรงงานกับรายจ่ายครัวเรือนในประเทศไทย รายการค่าใช้จ่ายแบ่งเป็น 8 หมวด ประกอบด้วย ที่อยู่อาศัย สินค้าบริโภค อาหาร บริการ สุขภาพ การศึกษา เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบ และอื่น ๆ การศึกษานี้ประยุกต์ใช้วิธี Two-stage least squares และแบบจำลอง Tobit ในการประมาณค่าสมการ Engel’s curves เพื่อทดสอบความแตกต่างของการศึกษา พบว่า ครัวเรือนที่ได้รับเงินส่งกลับกับครัวเรือนที่ไม่ได้รับเงินส่งกลับ ผลการศึกษา พบว่า ครัวเรือนที่ได้รับเงินส่งกลับมีค่าใข้ต่ายอาหารและรายจ่ายการลงทุน ได้แก่ ที่อยู่อาศัย สุขภาพ และการศึกษา สูงกว่าและมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายสำหรับสินค้าบริโภคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับครัวเรือนที่ไม่ได้รับเงินส่งกลับ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินรายได้ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ค่าใช้จ่ายครัวเรือน th_TH
dc.subject พฤติกรรมการใช้จ่าย th_TH
dc.subject แรงงาน th_TH
dc.title ผลของเงินส่งกลับของแรงงานต่อรายจ่ายครัวเรือนในประเทศไทย th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2556
dc.description.abstractalternative This study uses the 2009 Socioeconomic Survey (SES) to investigate the relationship between remittances and household expenditure in Thailand. Eight main expenditure categories are analyzed: housing, consumer and durable goods, food consumption, services, health care, education, alcoholic beverages and tobacco, and others. The two-stage least squares and Tobit models are applied to estimate empirical Engel’s curves, and to test difference in the pattern of household expenditure between households receiving remittances and household receiving no remittances. The main results show that households receiving remittance spend more on food consumption and investment goods, including housing, health care, and education, and spend less on non-food consumption, than those receiving no remittances en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account