DSpace Repository

การวิเคราะห์หาแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรีมหาราชโดยใช้ข้อมูลภูมิศาสตร์และแผนที่จัดทำในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

Show simple item record

dc.contributor.author อัฌชา ก.บัวเกษร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:14Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:14Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1064
dc.description.abstract การวิจัยเพื่อศึกษาแหล่งโบราณคดี และประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออก ที่เกี่ยวกับเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรีมหาราช พบว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรีมหาราชยกทัพออกจากวัดพิชัยมาทางบ้านหันตรา ผ่านทางบ้านข้าวเม่าถึงบ้านสำบัณฑิต บ้านโพสังหาร บ้านพรานนก บ้านหนองไม้ซุง บ้านนาเริ่ง บ้านหนองกะเริ่ง เมืองนครนายก บ้านบางคาง ด่านกบเจาะ สำนักหนองน้ำ บ้านทองหลาง ตะพานทอง บางปลาสร้อย บ้านนาเกลือ พัทยา นาจอมเทียน ไก่เตี้ย สัตหีบ หินโด่ง น้ำเก่า วัดลุ่ม ค่ายป่าประดู่ บ้านพลอยแหวน วัดแก้วริมเมือง และจันทบุรี และพระองค์ทรงเดินทัพกลับไปกอบกู้เอกราช โดยเดินทางอกจากเมืองจันทบุรี ระยองชลบุรี ปากน้ำ สมุทรปราการ เมืองธนบุรีและเพนียด ระยะเวลาในการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรีมหาราชนั้นนับว่าพระองค์ท่านทรงมีอัจฉริยะหลายด้าน เช่น ทรงเป็นนักภูมิศาสตร์ชั้นยอดเยี่ยม นักปกครอง นักจิตวิทยา และนักการทหาร ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรีมหาราช The main objective od this research is to study the archeological and historical sites in the easter region where King Takin Krung Thonburi used this his military route between Krung Sir Ayudhaya and Chantaburi . According to its finding, King Tasksin Krung Thonburi started the troop from Krung Sri Ayudhaya to Chantaburi via What Pichai, Bang Sombundit, Bang Posonghan, Bang Prannuk, Bang Nongmasisung, Bang Narrung, Bang Nongkarung, Nakonnayok, Bang Bankang, Dangkobioa, Somunknongmun, Bang Tongjang, Bang Tonglang, Tapantong, Bank Parsoi, Bang Naklue, Pattaya, Najomtie, Kai tia, Sattahip, Hindong, Numkao, Wat Lhum, Kai Papradu, Bang Ploywean, Wat KaeMung, and Chantaburi. After King Tasksin Krung Thonburi had story hold in Chantaburi and desired to fight for independence, he then led his military troop by Marin way from Chantaburi to Kurng Sri Ayudhaya via Rayong, Chonburi, Paknum, Samuth parkan, Thonburi, Panead. During this period, we can see that King Tasksin Krung Thonburi was genius in using military ways. He possessed all salient features as leader and was excellent in geography, administration, Psychology and military. th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2543 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ตากสินมหาราช th_TH
dc.subject สมเด็จพระเจ้า th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.subject แหล่งโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ - - ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH
dc.subject ไทย - - ประวัติศาสตร์ - - กรุงธนบุรี - - สงครามกับพม่า th_TH
dc.title การวิเคราะห์หาแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรีมหาราชโดยใช้ข้อมูลภูมิศาสตร์และแผนที่จัดทำในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ th_TH
dc.title.alternative The Analysis of finding about the archeological and historical site related to the military way king kungThonburi in the eastern region using geographic information and maps developed from geography information systems th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2543


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account