DSpace Repository

การสร้างแม่พิมพ์แผลผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง

Show simple item record

dc.contributor.author กิตติ กรุงไกรเพชร
dc.date.accessioned 2024-01-09T04:42:59Z
dc.date.available 2024-01-09T04:42:59Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10289
dc.description งานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จากงบประมาณเงินรายได้ คณะแพทยืศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 th_TH
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแม่พิมพ์ช่วยผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้องและทดสอบประสิทธิภาพของแม่พิมพ์ รูปแบบการศึกษา การพัฒนาและทดลอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรเป้าหมายคือ นิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 และแพทย์ใช้ทุนของคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2563-2564 ขนาดของตัวอย่างที่คำนวณได้คืออย่างน้อย 28 คน โดยอาสาสมัครทุกคนต้องเคยเข้าช่วยผ่าตัดคลอดบุตรมาแล้วอย่างน้อยสามราย วิธีการศึกษา ผู้วิจัยได้สร้างแม่พิมพ์แผลผ่าตัดต้นแบบชนิด Pfannenstiel ตามข้อกำหนดของบาดแผล ดังกล่าว หลังจากนั้นได้ให้อาสาสมัครได้ทดลองใช้แม่พิมพ์นี้ในสถานการณ์จำลองของการผ่าตัดคลอด ซึ่ง แบ่งเป็นสองสถานี ได้แก่ สถานีแบบเดิมและสถานีที่มีการใช้แม่พิมพ์ช่วยผ่าตัด เมื่อสิ้นสุดการทดลองในแต่ละสถานีจะให้อาสาสมัครประเมินการรับรู้ประสิทธิภาพตนเองในการลงมีดผ่าตัดคลอดบุตร ส่วนลักษณะบาดแผล จาการทดลองทั้งสองสถานีจะได้รับการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการศึกษา มีอาสาสมัครเข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 32 ราย เป็นนิสิตแพทย์ชั้นปีที่หกจำนวน 14 คน พบว่านิสิตมีคะแนนการรับรู้ประสิทธิภาพของตนเองในการลงมีดผ่าตัดคลอดเพิ่มมากขึ้นในสถานีที่มีการใช้ แม่พิมพ์ช่วยผ่าตัด (t=-17.67, p<.01) และผลการประเมินความสวยงามของแผลผ่าตัดพบว่าบาดแผลผ่าตัดที่ใช้แม่พิมพ์มีความค่าคะแนนดีกว่าบาดแผลที่ไม่ได้ใช้แม่พิมพ์ (t=9.94, p≤.01) อาสาสมัครส่วนใหญพึงพอใจต่อแม่พิมพ์แผลผ่าตัดคลอดบุตร สรุป แม่พิมพ์ผ่าตัดคลอดช่วยเพิ่มการรับรู้ประสิทธิภาพในตนเองของอาสาสมัครและท าให้บาดแผลมีความ สวยงามมากกว่าการผ่าตัดด้วยอุปกรณ์แบบเดิม th_TH
dc.description.sponsorship คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การผ่าท้องทำคลอด th_TH
dc.subject การทำคลอด th_TH
dc.title การสร้างแม่พิมพ์แผลผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง th_TH
dc.title.alternative Cesarean delivery incision template development th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2565 th_TH
dc.description.abstractalternative Objectives: To develop Cesarean incision template and test its efficacy Study design: A developmental and experimental trial. Population and sample: The study population included sixth-year medical students and intern physicians from Burapha University Hospital. The sample size was determined to be at least 28 individuals. Each volunteer had to have aided in at least three prior Cesarean deliveries. Methods: This incisional template was created using the Pfannenstiel incision description criteria. These participants evaluated its effectiveness in a simulated experiment. There were two trial stations for Cesarean delivery: conventional and interventional, the latter of which included a Cesarean template. The self-efficacy of participants was evaluated on both conventional and interventional stations, and their wound shape was compared and examined by specialists Results: The study involved 32 participants, 14 of whom were sixth-year medical students and 18 of whom were intern physicians. The difference in self-efficacy between the two groups was statistically significant (t=-17.67, p.01), and template wounds performed better aesthetically than conventional wounds (t=9.94, p.01). The majority of respondents said that they were satisfied with this template. Conclusions: The Cesarean template boosted participants' self-efficacy and resulted in a more appealing wound than the conventional technique. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account