DSpace Repository

การศึกษารูปแบบการพัฒนาโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 3 (นวัตกรรมและมูลค่าสูง) เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทักษญา สง่าโยธิน
dc.contributor.author จำรูญ กสิวัตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:56:55Z
dc.date.available 2023-09-18T07:56:55Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10234
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อค้นหาและนำเสนอผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางในการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 3 (นวัตกรรมและมูลค่าสูง) ไปเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในระดับโรงเรียนมัธยมศึกษาและเพื่อนำผลจากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 3 ไปพัฒนาท้องถิ่นในประเทศไทย ด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพเทคนิคเดลฟายกับ 17 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญผู้เรียนหลักสูตร นพย.1 นำเสนอผลการค้นพบแนวทางการสร้างนวัตกรรมในโรงเรียนตามการพัฒนาการเรียนการสอนของโรงเรียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 3 ประกอบด้วย 1) เงื่อนไขความรู้ พบว่ามี 5 ข้อกิจกรรมที่โรงเรียนที่มีนวัตกรรมจะต้องมีการพัฒนา 2) เงื่อนไขคุณธรรม มี 12 ข้อปฏิบัติตามหลักเงื่อนไขคุณธรรมของโรงเรียนที่มีสินค้าหรือกิจกรรมที่เรียกรับค่าบริการได้ และที่มีนวัตกรรมที่มีมูลค่าสูง 3) ความมีเหตุผล พบ 13 แนวทางหลักในการดำเนินกิจกรรมที่ผู้บริหารและครูใช้ในการสร้างนวัตกรรมสินค้าและบริการของโรงเรียน 4) มีภูมิคุ้มกันที่ดี พบ 15 กิจกรรมที่เป็นแนวทางสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการดำเนินกิจกรรมให้เกิดการเรียนการสอนที่ดี การมีสินค้าและกิจกรรมที่เรียกรับค่าบริการได้ของโรงเรียน มีความมุ่งหวังให้นักเรียนได้ฝึกคิด ฝึกอาชีพ พัฒนาทักษะทั้งการงานและอาชีพ โดยผ่านนวัตกรรมการศึกษาและกิจกรรมที่มีนวัตกรรม และ 5) ความพอประมาณ พบ 8 แนวทางการพิจารณาความพอประมาณในการจัดการสินค้าและกิจกรรมนวัตกรรมที่โรงเรียนควรจะมี ส่วนในวัตถุประสงค์ที่ 2 แนวทางการพัฒนาโรงเรียนมัธยมศึกษาและท้องถิ่นตามแนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 3 พบว่า 1) ลักษณะกิจกรรมอาชีพที่สัมผัสหรือรับรู้ถึงนวัตกรรมสินค้า/กิจกรรมที่เรียกเก็บค่าบริการของโรงเรียนมี 11 ลักษณะ และ 2) พบว่ามี 10 เกณฑ์การประเมินผลประสิทธิผลด้านการดำเนินการนวัตกรรมในโรงเรียน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subject โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.title การศึกษารูปแบบการพัฒนาโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 3 (นวัตกรรมและมูลค่าสูง) เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในประเทศไทย
dc.title.alternative The study of secondry school devleopment model using the sufficiency economy philosophy step 3 (innovtion nd highvlue) for locl development in thilnd
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This article presented the objective of the study 1) Guidelines for the development of secondary schools based on the Sufficiency Economy Philosophy (SEP) step 3 (Innovation and High Value) and 2) Guidelines for the development of secondary school and local community according to the SEP guidance. The qualitative research designed with Delphi technique and sampling with 17 experts in the Sustainable Development Leader 1 curriculum. Presenting the findings of innovative approaches in schools according to the development of the school's teaching and learning according to the SEP step 3 that consists of 1) Knowledge conditions; 5 activities that innovative secondary school has to be developing. 2) Morality conditions; 12 clauses in accordance with the moral conditions of the secondary school that has the innovative and high value products or chargeable activities. 3) Reasonableness; 13 main guidelines for conducting activities that administrators and teachers use to create innovative products and services of the school. 4) Immunity; 15 activities that are guide the immune in carrying out activities that can cause good teaching, school’s product and chargeable activities, with the aim for students are practice thinking, career training, and develop both work and career skills through innovative and activities’ education. 5) Moderation; 8 ways to consider moderation in innovation product and activities management that the school should have. And the second objective, the guidelines for secondary schools and local community development according to the SEP guidance found that 1) There are 11 characteristics of the occupational activities that touch or perceive the school's innovative products or chargeable activities, and 2) 10 criteria’s for evaluating the effectiveness of implementing innovation in school.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account