dc.contributor.advisor |
บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ |
|
dc.contributor.advisor |
ทรงยศ บัวเผื่อน |
|
dc.contributor.author |
โบรญา คุณวิบูลย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:56:44Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:56:44Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10206 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่อง “การเปิดรับข่าวสารกับความคิดเห็นทางการเมืองของนิสิต มหาวิทยาลัยในยุครัฐบาล พล อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิตที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 1 –4 มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก จำนวน 400 คน งานชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์กับความคิดเห็นทางการเมืองของนิสิต มหาวิทยาลัย 2) เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ลักษณะทางประชากรกับการเปิดรับข่าวสารทางการเมืองของนิสิต 3) เพื่อศึกษาความแตกต่างการเปิดรับข่าวสารกับความคิดเห็นทางการเมืองในยุครัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผลการวิจัยพบว่า นิสิตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 มีเกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ระหว่าง 2.00 –2.50 มีความสนใจทางการเมืองอยู่ในระดับมาก ส่วนใหญ่เปิดรับข่าวสารผ่านเว็บไซต์ข่าวในช่วงระหว่างเวลา18.01 – 24.00 น. โดยเปิดรับมากกว่า 3 วันต่อสัปดาห์แต่ละครั้งจะเปิดรับข่าวสารประมาณ 15 – 30 นาที นิสิตไม่เห็นด้วยกับคำกล่าวที่ว่า พล.อ. ประยุทธ์บริหารประเทศได้ดี (Mean = 1.47) ด้านความเป็นประชาธิปไตย สิทธิเสรีภาพนั้น นิสิตไม่แน่ใจเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยหรือไม่ (Mean = 3.47) ไม่เห็นด้วยกับคำกล่าวที่ว่า รัฐบาลทหารบริหารประเทศดีกว่ารัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง (Mean = 4.50) ส่วนด้านสิทธิและ เสรีภาพ นิสิตไม่เห็นว่าประชาชนได้รับการคุ้มครองทางด้านกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน (Mean = 1.97) ส่วนความคิดเห็นที่มีต่อการทำหน้าที่ขององค์อิสระตามรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะกรรมการการเลือกตั้งและองค์กรกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาตินั้น นิสิตเห็นว่าองค์กรดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือไม่มากนัก |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง |
|
dc.subject |
นักศึกษา -- ทัศนคติ |
|
dc.subject |
การเมือง -- ทัศนคติ |
|
dc.title |
การเปิดรับข่าวสารกับความคิดเห็นทางการเมืองของนิสิตมหาวิทยาลัยในยุครัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก |
|
dc.title.alternative |
Informtion exposure nd politicl opinions of university studentunder generl pryuth chnoch’s government: cse study of university in the estern region of thilnd |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The study on information exposure and political opinions of university
students under Gen. Prayut Chan-o-cha’s government: acase study of a university in
the east is quantitative research with the use of questionnaires as research tools. The
data were collected from 400 first year, second year, third year, and fourth year
university students at a university in the eastern part of Thailand. The study aims to 1)
find relation between demographic characteristics and students’ political opinions
towards Gen. Prayut Chan-o-cha’s government, 2) find relation between demographic
characteristics and students’ exposure to political news, and 3) study the differences
between students’ information exposure and political opinions in the period of Gen.
Prayut Chan-o-cha’s government.
The study revealed that most of the students were second year female
students who gained grade point averages of 2.00-2.50. They demonstrated high
interest in politics, and they got exposure to news from websites from 06.01pm -12.00
am. They exposed to the news more than 3 times a week and spent about 15- 30
minutes a time. The students did not agree that Gen. Prayut Chan-o-cha governed the
nation well (Mean = 1.47). Regarding democracy, rights, and freedoms, the students
were not certain whether there was democracy (Mean = 3.47). They did not agree that
the military government did better in administrating the nation than the elected
government (Mean = 4.50). In rights and freedoms, the students did not see that people
were equally protected by laws (Mean = 1.97). Regarding the Independent Organizations under the Constitution and the National Assembly of Thailand namely the
Office of the National Anti-Corruption Commission, Office of Election Commission of
Thailand, and Office of the National Human Rights Commission, the students’ opinions
revealed that these offices did not have much reliability. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง |
|
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|