DSpace Repository

การหาอัตราการเกิดรอยแผลเป็นจากการฉีดวัคซีน BCG ในเด็กแรกเกิดของโครงการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author วัลลภา พ่วงขำ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:11Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:11Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1018
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตจถุประสงค์เพื่อศึกษาหาอัตราการเกิดรอยแผลเป็นจากการฉีดวัคซีน BCG ในเด็กแรกเกิดของศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา และหาความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดรอยแผลเป็นในเด็กแรกเกิดที่ได้รับการฉีดวัคซีน BCG กับปัจจัยของเด็กแรกเกิดและปัจจัยด้านการแพทย์ โดยเป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลองดำเนินการฉีดวัคซีน BCG ในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเด็กแรกเกิดที่เกิดระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2541 ถีง วันที่ 31 มีนาคม 2542 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 45 คน กลุ่มควบคุม 62 คน เก็บรวบรวมข้อมูลติดตามผลการเกิดรอยแผลเป็นในเด็กที่มารับบริการ ณ คลินิกเด็กดี ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา จนอายุครบ 6 เดือน วิเคราะห์สรุบพรรณาเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูลสุด ค้นหา ตีความบรรยายลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง เปรียบเทียบการเกิดรอยแผลเป็น และทดสอบหาความสัมพันธ์ทางสถิติในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยของเด็กแรกเกิด ด้านเพศ น้ำหนักแรกเกิด เขตที่พักอาศัยของมารดาของกลุ่มตัวอย่างไม่มีความแตกต่างกันและไม่มีการเกิดรอยแผลเป็นจากการฉีดวัคซีน BCG ในเด็กแรกเกิด ส่วนปัจจัยทางด้านการแพทย์ คือ วิธีการฉีดวัคซีน BCG พบว่า เด็กแรกเกิดในกลุ่มทดลองที่ได้รับการฉีดวัคซีนจากผู้วิจัยที่ศึกษาและฝึกทักษะวิธีการฉีดที่มีประสิทธิภาพจะเกิดรอยแผลเป็นมากกว่าเด็กกลุ่มควบคุมที่ได้รับการฉีดจากพยาบาลประจำหอผู้ป่วยโดยทั่วไป คือ ร้อยละ 95.56 และ ร้อยละ 70.97 ตามลำดับและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.001) ทำให้ทราบว่า ถึงแม้เด็กจะได้รับการฉีดวัคซีน BCG ครบทุกคน วัคซีนก็จะไม่เกิดประสิทธิภาพทุกคน ผลการศึกษาที่ได้เป็นแนวทางให้พยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการให้วัคซีน ทุกคนควรตระหนักถึงความสำคัญของการให้วัคซีนที่มีประสิทธิภาพให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อเชื้อวัณโรค th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การฉีดวัคซีน th_TH
dc.subject การให้วัคซีนทารก th_TH
dc.subject ทารกแรกเกิด th_TH
dc.subject วัคซีนบีซีจี th_TH
dc.subject วัณโรค - - การฉีดวัคซีน th_TH
dc.subject แผลเป็น th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
dc.title การหาอัตราการเกิดรอยแผลเป็นจากการฉีดวัคซีน BCG ในเด็กแรกเกิดของโครงการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email wanlapa@buu.ac.th
dc.year 2543
dc.description.abstractalternative The purposes of this quasi-experimental resarch were to study the rate of the scar caused by BCG vaccination and the relation of this rate with the newborn factors : sex, Birth weight, the country of parent and medical factors which was the injection technique by the resercher and injected by the nurse of the ward in the newborn pf the Health Science, Burapha University. The study was conducted at the Well baby clinic of the Health Science Center from October 1998 to March 1999 by giving BCG vaccination to the samples who were newborn and these newborn were devided into two group; 45 of experimental and 62 of control group, then the newborn were followed up to exam the scar caused by BCG vaccination until they were six month. The data were analysed by using descriptive statistic; percentage, mean, standard deviation and comparing the rate of scar and the relation between the rate of the scar with the factors. The results were as followed : all of the newborn factors were not different for the rate of the scar, the medical factors which was the injaction technique by the researcher. In the experimental group, the rate of the scar were more than the control group which were injacted by the nurse of the ward (95.56%, 70.97%) with a significant at 0.05 (p-value=0.001) According to the result of this stydy, it was recommended thet the health care provider should give concern and more importance to the efficiency of BCG vaccination outcome in order to prevent tuberculosis from immunization. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account