DSpace Repository

ผลการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลโดยใช้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor เชวง ซ้อนบุญ
dc.contributor.advisor ศิรประภา พฤทธิกุล
dc.contributor.author ภาวินี จิตต์โสภา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:54:03Z
dc.date.available 2023-09-18T07:54:03Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10146
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างคือเด็กอนุบาลอายุ 5-6 ปีโรงเรียนวัฒนานุศาสน์สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563 จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มใช้เวลาในการทดลองจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาครั้งละ 30 นาทีติดต่อกันสัปดาห์ละ 5 ครั้ง เป็นเวลา 6 สัปดาห์เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสำหรับเด็กอนุบาล จำนวน 30 แผน และแบบประเมินทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลชนิดมาตรประมาณค่าแบบบรรยาย 3 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ (IOC) ตั้งแต่ .67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นตลอดทั้งฉบับ เท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (ttest) ผลการวิจัย พบว่า 1) เด็กอนุบาลมีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมก่อนการทดลองอยู่ในระดับควรส่งเสริม หลังการทดลองอยู่ในระดับดี 2) เด็กอนุบาลมีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา สามารถนำไปใช้ในการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลได้
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ความคิดและการคิด -- การศึกษาและการสอน
dc.subject การศึกษาขั้นปฐมวัย
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
dc.subject ความคิดและการคิด
dc.title ผลการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลโดยใช้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
dc.title.alternative Effects of enhncing innovtive thinking skills of kindergrteners through lerning experience mngement bsed on stem eductionl concepts
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study and compare innovative thinking skills among kindergarteners before and after learning experience management based on STEM educational concepts. The research model was a quasi-experimental research. Research sample consisted of 35 kindergarteners aged 5 to 6 years at Wattananusas School, under the office of the Private Education Commission, in the 2 nd semester of the academic year 2020. All participants were cluster randomly assigned by using the classroom as a random unit. The experimental received learning experience management based on STEM educational concepts for 30 minutes per session, five times per week for six weeks. Research instruments were 30 lesson plans of learning experience management based on STEM educational concepts; and assessment scale of kindergarteners’ innovative thinking skills by using 3 level of scoring rubric with the degree of Index of Item – Objective Congruence (IOC) between .67-1.00 and the reliabilityat .92. The statistic used for data analysis were mean, standard deviation, and independent ttest. Major findings were as follows: 1) The kindergarteners’ innovative thinking skills before the experiment was at the “Needs Improvement” level, and after the experiment at the “Good” level. 2)The kindergarteners’ innovative thinking skills after the experiment was significantly higher than those before, at the .05 level. This research results showed that learning experience management based on STEM educational concepts can be used to enhance kindergarteners innovative thinking skills.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การศึกษาปฐมวัย
dc.degree.name การศึกษาดุษฎีบัณฑิต การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account