DSpace Repository

การเปรียบเทียบพฤติกรรมและการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดบริการในร้านขายยาในอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศักดิ์ชัย เศรษฐ์อนวัช
dc.contributor.author สุภพงษ์ หงษ์กิตติยานนท์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:51:25Z
dc.date.available 2023-09-18T07:51:25Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10117
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. ศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดบริการในร้านขายยา เขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ของลูกค้าชาวไทยและมาเลเซียที่ใช้บริการในร้านขายยา 2. ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้บริการที่ส่งผลต่อการรับรู้การรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดบริการในร้านขายยาเขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ของลูกค้าชาวไทย และมาเลเซียที่ใช้บริการในร้านขายยา โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ที่ใช้บริการร้านขายยาในเขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ซึ่งเป็นลูกค้าคนไทยและมาเลเซียที่เดินทางเข้ามายังเขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติการทดสอบค่า t (t-Test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One - Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้บริการในร้านขายยา เขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส แบ่งตามสัญชาติได้ดังนี้ ลูกค้าสัญชาติไทยและสัญชาติมาเลเซีย ส่วนใหญ่ซื้อยาเพื่อรักษาโรคเบื้องต้น ผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ คือ ตนเอง ส่วนใหญ่ใช้บริการ 1 ครั้งในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา มีระยะเวลาที่ใช้บริการน้อยกว่า/เท่ากับ 10 นาที และจะกลับมาซื้อหรือใช้บริการในร้านขายยาร้านเดิมอีกและช่วงเวลามาใช้ บริการส่วนใหญ่ลูกค้าสัญชาติไทยมาใช้บริการช่วงเวลา 17.01 -20.00 น. ส่วนลูกค้าชาวมาเลเซีย สะดวก มาใช้บริการ 08.01 - 11.00 น. ส่วนการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดบริการในร้านขายยา พบว่า ด้าน ราคา และด้านการส่งเสริมการตลาดโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่ ด้าน บุคลากร ด้านกายภาพ ด้านกระบวนการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล จำแนกตามระดับการศึกษาและอาชีพที่ต่างกัน มีการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดในร้านขายยา เขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพฤติกรรมการใช้บริการในร้านขายยา จำแนกตามการเลือกซื้อสินค้า สาเหตุที่ซื้อหรือใช้บริการผู้มีอิทธิพลช่วยตัดสินใจซื้อและการกลับมาซื้อ หรือใช้บริการในร้านขายยาที่ต่างกัน ส่งผลต่อการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาด ในร้านขายยา เขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การจัดการขาย
dc.subject ร้านขายยา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.subject ความพอใจของผู้ใช้บริการ
dc.title การเปรียบเทียบพฤติกรรมและการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดบริการในร้านขายยาในอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
dc.title.alternative A comprtive study of behviour nd perceived service mrketing mix of phrmciesin sungi kolok district, nrthiwt province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of this research are 1. to compare personal factors that affect perceived marketing mix of pharmacy service amongst Thai and Malaysian customers using pharmacy services in Sungai Kolok District, Narathiwat Province; 2. To compare behaviour of service users that affects perceived marketing mix of pharmacy services in Sungai Kolok District, Narathiwat Province amongst Thai and Malaysian customers using pharmacy services. The sample group in this study is selected from customers using the pharmacy service in Sungai Kolok District, Narathiwat Province who are 400 Thai and Malaysian customers traveling to the Sungai Kolok District, Narathiwat Province. Statistics used in this study were frequency, percentage, mean, standard deviation as well as using t-test and One-Way ANOVA to test the hypothesis. The results of the research showed that; Behaviour of service users in pharmacy inSugai Kolok District, Narathiwat Province can be classified by nationality as follows; The majority of Thai and Malaysian customers buy drugs for fundamental treatment. The most influential people in the purchasing decision are themselves. Mostly, they use pharmacy services 1 time in the past 1 month. The period of using pharmacy services is less than/equal to 10 minutes and they will return to buy or use the services in the same pharmacy. With regard to the hours of using pharmacy services, most Thai customers come to use the services during 17.01 -20.00 hrs. For Malaysian customers, they come to use the services during 08.01 -11.00 hrs. In terms of the perceived marketing mix in pharmacy services, it was found that price and promotion can be rated at moderate level. However, product, location, personnel, physical aspects, processes can be rated at high level. The hypothesis testing found that personal factors classified by educational level and different careers were significantly affect perceived marketing mix in pharmacies in Sungai Kolok District, Narathiwat Province in different way as evidenced by statistical significance at the level of 0.05. Moreover, behaviour of service users in pharmacies classified by product selection, buying reasons/or using influencers to impact on purchasing decisions and returning to buy or use the services in different pharmacies affects the perceived marketing mix in pharmacies in Sungai Kolok District, Narathiwat Province. Overall, the difference is statistically significant at the level of 0.05.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account