DSpace Repository

รูปแบบการพัฒนาศูนย์ฝึกนักกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศักดิ์ชาย พิทักษ์วงศ์
dc.contributor.advisor ฉัตรกมล สิงห์น้อย
dc.contributor.advisor ประวิทย์ ทองไชย
dc.contributor.author วิชิต ตงศิริกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:51:12Z
dc.date.available 2023-09-18T07:51:12Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10067
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ และสร้างแนวทางพัฒนารูปแบบศูนย์ฝึกนักกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ผู้ฝึกสอน และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับกีฬาฟุตบอล จำนวน 26 คน โดยการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบ และแนวทางการพัฒนารูปแบบการพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศและนำข้อมูลจากการสังเคราะห์เอกสารไปสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน และสร้างเป็นแบบสอบถามได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 ไปสัมภาษณ์และสอบถามผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน ให้ได้รูปแบบที่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติและมีความสมบูรณ์และขั้นตอนที่ 3 ประเมินความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบการพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศไปใช้จริง โดยการสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกีฬาฟุตบอลเยาวชน จำนวน 9 คน โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยเทคนิคเดลฟายประยุกต์ (Modified Delphi technique) ผลการวิจัยพบว่า ผลการศึกษาองค์ประกอบ ปัจจัยในแต่ละองค์ประกอบ และแนวทางการพัฒนารูปแบบการพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศประกอบด้วย องค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบายเกี่ยวข้องผู้บริหารนโยบายของผู้บริหารงบประมาณ 2) ด้านปัจจัยนำเข้าเกี่ยวกับนักกีฬา ผู้ฝึกสอน และทีมวิทยาศาสตร์การกีฬา 3) ด้านกระบวนการ ได้แก่ การจัดการฝึกซ้อม การเข้าร่วมการแข่งขัน และการเรียนควบคู่กับการฟุตบอล 4) ด้านผลผลิต ได้แก่ ผลงานของทีม และความสำเร็จในการติดสโมสรหรือทีมชาติ การพัฒนารูปแบบศูนย์ฝึกนักกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศ มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการนำไปใช้จริง
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ผู้ฝึกสอนฟุตบอล
dc.subject ฟุตบอล -- การฝึก
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.title รูปแบบการพัฒนาศูนย์ฝึกนักกีฬาฟุตบอลในโรงเรียนเพื่อความเป็นเลิศ
dc.title.alternative The guideline model of the excellence footbll trinning centres in school
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims to study the components and establish the guideline model of the excellence football training centres in school. The sample group includes football administrators, football coaches, and football experts, 26 persons in total. The procedure of this qualitative research consists of 3 following phases. Phase 1: Study the components and the guideline model of the excellence football training centres, use the data from the synthesised documents to conduct an in-depth interview with 17 experts, then create a questionnaire, with a Content Validity Ratio at 0.96. Phrase 2: Use the data obtained from phrase 1 to interview the 17 experts in order to get a practical and complete model.Phrase 3: evaluate the possibility to apply the model of the excellence football training centres in school by conducting a focus group discussion with 9 experts who involve in youth football, and using the Modified Delphi Technique. The results showed that from the study of components and factors of each component, the guideline model of the excellence football training centres in schools consists of 4 dimensions which are: 1) policy dimension related to executives, policy and budget management; 2) input dimension relating to athletes, coaches and sports science teams; 3) process dimension including training management, participation in the competitions, and academic learning along with football practice; and 4) output dimension: the team’s result in competitions, signing with a professional football team or the Thailand national team. In conclusion, the guideline model of the excellence football training centres in school is appropriate and possible to apply.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account