dc.contributor.advisor |
กาญจนา หริ่มเพ็ง |
|
dc.contributor.advisor |
ภูมิพัฒน์ ภาชนะ |
|
dc.contributor.advisor |
กฤษนัยน์ เจริญจิตร |
|
dc.contributor.author |
แทนทัศน์ เพียกขุนทด |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:51:06Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:51:06Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10057 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพปัจจุบันของพื้นที่ป่าจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน และมูลค่าการใช้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากต้นจากในลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออกประเทศไทย เพื่อนำเสนอแบบจำลองรูปแบบและพื้นที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ป่าจากบนระบบภูมิสารสนเทศ ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ป่าจากลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออกของจังหวัดระยอง จันทบุรีและตราด มีพื้นที่รวม ทั้งสิ้น 184.5 ไร่ครอบคลุมลุ่มน้ำจันทบุรีประแสร์ตราด และเวฬุมีปริมาณคาร์บอนเฉลี่ยของส่วนต่าง ๆ คิดเป็น ร้อยละ 51.75 ± 1.25 มูลค่าการใช้ประโยชน์จากผลผลิตป่าจากคิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 164,898,000 บาท/ปี โดย มูลค่าจากผลผลิตที่สูงที่สุด คือ มวนใบยาสูบ รองลงมาเป็นตับจาก และลูกจากเชื่อม ตามลำดับ ส่วนมูลค่าด้านการประมงคิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 196,605,520 บาท/ปี สำหรับมูลค่าการใช้ประโยชน์ทางอ้อม ในด้านการดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์ มีปริมาณคาร์บอนสะสมเหนือพื้นดินทั้งหมด 2,016.33 ตันคาร์บอน คิดเป็นมูลค่า 1,050,144.99 บาท ปริมาณคาร์บอนสะสมใต้ดิน เท่ากับ 15,330.82 ตันคาร์บอน คิดเป็นมูลค่า 7,984,597.65 บาท รวมมูลค่าการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ เท่ากับ 9,034,742.64 บาท รวมมูลค่าการใช้ประโยชน์ของป่าจาก ทั้งทางตรงและทางอ้อม เท่ากับ 370,538,203.64 บาทหรือ 2,008,881.88 บาท/ไร่ การศึกษาแบบจำลอง (model) รูปแบบและพื้นที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ป่าจากโดยผู้เชี่ยวชาญและใช้กระบวนการวิเคราะห์ ตามลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process : AHP) พบว่า การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าจากทั้งหมด (100 %) โดยไม่มีการสงวนพื้นที่ไว้เพื่อการอนุรักษ์จะให้มูลค่าสูงสุด หากปลูกในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากที่สุดเพียง อย่างเดียวจะสามารถเพิ่มมูลค่าได้ 528,084,824,205 บาทและมีอัตราส่วนการใช้จากต่อพื้นที่ลดลงโดยไม่มี ผลกระทบต่อรายได้ของผู้ใช้ประโยชน์ป่าจากรวมทั้งเป็นการเพิ่มการกักเก็บคาร์บอนและป้องกันการชะล้าง พังทลายของหน้าดินริมฝั่งน้ำได้อีกด้วย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
จาก (พืช) -- การอนุรักษ์ |
|
dc.subject |
จาก (พืช) |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.title |
การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ป่าจาก : กรณีศึกษาป่าจากในลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออกประเทศไทย |
|
dc.title.alternative |
Appliction of geoinformticsfor pproprited conservton nd mngement modeling of nyp re: cse study nyp forest in estern costl wtershed thilnd |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this study are to study the current condition of the forest area according to land use as well as the direct and indirect value of use from Nipa palm in the Eastern-Coastal Watershed. The goal is to present a model and the appropriate area for preservation and forest area management by the Geographic Information System (GIS). From the study, the Nipa palm forest area in the East-Coast Gulf of Rayong, Chanthaburi, and Trat have a total area of 184.5 rai, which covers the basin of Chanthaburi, Prasae, Trat, and Welu. The average amount of carbon in each part is 51.75 ± 1.25 %. The value of use from Nipa palm is 164,898,000 THB/year. The product with the highest value is tobacco wraping, followed by Nipa palm leaves for roofing and Nipa palm in syrup. The approximate value of the fisheries industry from fish, crabs, shrimp, mantis shrimp, and clams is 196,605,520 THB/year. For the value of indirect use, above ground carbon sequestration is 2,016.33 Tons Carbon Dioxide Equivalent, or 1,050,144.99 THB. The amount of below ground carbon sequestration is 15,330.82 Ton Carbon Dioxide Equivalent, or 7,984,597.65 THB. The total value of carbon sequestration is 9,034,742.64 THB. The total value of direct and indirect forest use is 370,538,203.64 THB (2,008,881.88 THB/Rai). From the model of the characteristics and appropriate area for the preservation and management of forest area by experts and the Analytic Hierarchy Process (AHP), 100% use without the preserved area provides the maximized value and growing only the highest efficiency area could add 528,084,824,205 THB to the value. The proportion of Nipa palm use by area reduces to 30% without any effect on the income of Nipa palm forest users. Moreover, it can increase carbon dioxide absorption and prevent soil erosion along the riparian zone as well. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|