DSpace Repository

แบบจำลองพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Show simple item record

dc.contributor.advisor กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่
dc.contributor.advisor วรรณภา ลือกิตินันท์
dc.contributor.author บรรณาพร คำสวัสดิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:44:04Z
dc.date.available 2023-09-18T07:44:04Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10047
dc.description วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การศึกษาเรื่องแบบจำลองพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรม 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลเชิงประจักษ์ของคุณภาพชีวิตในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงาน ความทุ่มเทในการทำงาน และพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงาน แบบสอบถามถูกใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากพนักงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 343 คน และใช้การวิเคราะห์สมการ โครงสร้างในการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงานการเสริมพลังอำนาจในการทำงานความทุ่มเทในการทำงาน และพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงานของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ยังพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงาน และความทุ่มเทในการทำงาน มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การสร้างสรรค์
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.subject พนักงานมหาวิทยาลัย
dc.subject พนักงานมหาวิทยาลัย -- การทำงาน
dc.title แบบจำลองพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
dc.title.alternative Model of Innovtion behvior mong Ksetsrt University's employees
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The study of the innovation behavior model among Kasetsart University’s employees aimed 1) to develop the causal relationship of innovation behavior model. 2) to validate the empirical data of quality of working life, empowerment, work passion and innovation behavior. The questionnaire was used to gather the data from 343 of Kasetsart University’s employees. The Structural equation modeling (SEM) was employed to test hypothesis. The research findings found that the level of respondents’ quality of working life, empowerment, work passion and innovation behavior were at high level. Furthermore, the quality of working life, empowerment and work passion significantly affected to innovation behavior.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account