กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/99
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorไพฑูรย์ กันสิงห์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/99
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงศ์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในการให้บริการวิชาการของคระศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลับบูรพา โดยจำแนกตามเพศชั้นปีศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชั้นปีที่ 1 2 3 และ4 ปีการศึกษา 2543 จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบทดสอบซึ่งดัดแปลงจากทฤษฎีการบริหารที่ประสบความสำเร็จของซิททาลและแบรี่ (Zeithal and Barry) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่แบบ (q- Statistic) ของนิวแมนคูนส์ (Newman-Keuls) ผลการวิเคราะห์พบว่า 1. นิสิตคระศึกษาศาสตร์ เพศ และชั้นปีต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในการให้บริการงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อยู่ในระดับปานกลาง 2. นิสิตคระศึกษาศาสตร์ เพศต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในการให้บริการงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. นิสิตคระศึกษาศาสตร์ ชั้นปีต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในการให้บริการงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 The purpose of this research was to study satisfaction of students in Faculty of Education of Burapha University wity the academic servies of Faculty of Educations. The way of this research was to be sorted by sexes and levels of education of students . 400 students from the first to the fourth years in 2000 were set to be the example groups by using questionnaires adapted from successful servies theory of Zeithal and Barry. All data were analysed by using T-Test, ONe Way ANOVA and Q-Statistic of Newman-Keuls that was to be concluded as follows: 1. There was the medium levels of satisfaction with academic services between the difference of sexes and levels of educations for each year of students in Faculty of Education. 2. There was no significant difference in satisfaction with academic services between male and female students in Faculty of Education. 3. There was significant difference in satisfaction with academic services between the levels of educations of students in Faculty of Educations at .05 level of significance.th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้รับบริการในการให้บริการงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction with academic services of Faculty of Education Burapha Universityth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2544
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2544_008.pdf4.19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น