กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9997
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorยุวดี ลีลัคนาวีระ
dc.contributor.advisorนิสากร ชีวะเกตุ
dc.contributor.authorจิตรประภา รุ่งเรือง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:43:53Z
dc.date.available2023-09-18T07:43:53Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9997
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงานเป็นปัจจัยที่ช่วยปกป้องสุขภาพของลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมไม้เพื่อลดโอกาสสัมผัสสิ่งคุกคามต่อระบบทางเดินหายใจ การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และอิทธิพลของปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริมต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงานของลูกจ้างโรงงานในอุตสาหกรรมไม้โดยประยุกต์ใช้กรอบแนวคิด PRECEDE Model กลุ่มตัวอย่าง คือ ลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมไม้ ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 272 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงาน อาการระบบทางเดินหายใจความรู้เรื่องโรคปอดจากการทำงาน ทัศนคติต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงาน การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคปอดจากการทำงาน การจัดสภาพแวดลล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงาน นโยบายความปลอดภัยในการทำงาน และการได้รับการเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงานวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงานของกลุ่มตัวอย่าง คือ การได้รับการเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงาน (β = .209) การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคปอดจากการทำงาน (β = .434) และการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงาน (β = .309) โดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงานของลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมไม้ได้ร้อยละ 38.1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (R 2 adj= 0.381, p< .001) การวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรส่งเสริมให้ลูกจ้างได้รับการเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรม ป้องกันโรคปอดจากการทำงานอย่างสม่ำเสมอทั้งทางบวกและทางลบให้รับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในการทำงานเสมอเพื่อส่งเสริมให้ลูกจ้างปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคปอดจากการทำงานอย่างต่อเนื่อง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectปอด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน
dc.subjectปอด -- โรค
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดจากการทำงานของลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมไม้จังหวัดสมุทรปราการ
dc.title.alternativeFctors predicting occuptionl lung disese prevention behvior mong employees in wood industries, smutprkrn province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe occupational lung disease prevention behavior helps to protect health of the employees in the wood industry as well as preventing the health risk exposure of respiratory tract system. This predictive correlational design research was aimed to study the relationship between predisposing, enabling and reinforcing factors and occupational lung disease prevention behavior, and factors influencing that behavior among employees in wood industries. The samples were 272 employees in wood industries, factory in Bang Chalong Subdistrict, Bangphli District, Sumut Prakan Province by Simple random sampling. The research instrument was an interview questionaire consisted as follow personal information, occupational lung disease prevention behavior, respiratory symptoms, knowledge on lung disease, attitude about occupational lung disease prevention behavior, risk perception of occupational lung disease, supportive environment for occupational lung disease prevention behavior, safety policy, and social support. Data were analyzed by descriptive statistics, Pearson's correlation statistics, and Stepwise multiple regression statistics. The results indicated that social support, risk perception of occupational lung disease, and supportive environment for occupational lung disease prevention behavior could predict occupational lung disease prevention behavior 38.1% (β = .209, .434, .309, respectively). The results suggest that occupational lung disease prevention behavior could be strengthen by continuing social support and increasing risk perception of occupational lung disease, and supportive environment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59920422.pdf4.04 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น