กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9857
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศักดินา บุญเปี่ยม | |
dc.contributor.advisor | สุกัญญา บูรณเดชาชัย | |
dc.contributor.author | ณัฐวิโรจน์ มหายศ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:20:11Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:20:11Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9857 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อใหม่ ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาและความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพา 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อใหม่ของมหาวิทยาลัยบูรพา 3) เพื่อเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพา 4) เพื่อเปรียบเทียบความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพา 5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อใหม่กับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพา 6) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อใหม่กับความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพา และ 7) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพากับความสนใจในการเลือกศึกษา ต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประเภทการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 424 ชุด โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามปลายปิดและเปิดสถิติที่ใช้คือ การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-Test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และสหสัมพันธ์แบบ Pearson’s correlation และ Spearman’s rank correlation ผลการศึกษาพบว่า 1) ช่องทางที่มีการเปิดรับเป็นมากที่สุดคือเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 359 คน คิดเป็นร้อยละ 84.70 ความรู้สึกเกี่ยวกับภาพลักษณ์โดยรวมของมหาวิทยาลัยบูรพาในระดับดี (X = 4.37) และส่วนใหญ่มีความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 401 คน คิดเป็นร้อยละ 94.60 2) ลักษณะทางประชากรศาสตร์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารของมหาวิทยาลัยบูรพาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ลักษณะทางประชากรศาสตร์มีความสัมพันธ์กับความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) นักเรียนที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่ต่างกันทำให้ภาพลักษณ์ด้านสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับภาพลักษณ์ทางด้านอื่น ๆไม่แตกต่างกัน 5) พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์รวมของมหาวิทยาลัยบูรพาในทิศทางบวก ในระดับน้อย อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 6) พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์กับความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 7) ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพามีความสัมพันธ์กับความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพา ในทิศทางลบ ในระดับน้อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง | |
dc.subject | การเผยแพร่ข่าวสาร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- การศึกษาต่อ | |
dc.title | พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อใหม่กับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาและความสนใจในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยบูรพาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 | |
dc.title.alternative | The influence of new medi informtion exposure behvior on imge nd interest in choosing to study t burph university mong 12th grde students under the secondry eductionl service re office | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to study media exposure behavior via new media, the image of Burapha University and interest in choosing to study at Burapha University among 12th grade students under The Secondary Educational Service Area Office 18 2) to compare the news exposure behavior via new media of Burapha University 3) to compare the image of Burapha University 4) to compare the interest in choosing to study at Burapha University 5) to study the relationship between media exposure behavior and the image of Burapha University. 6) to study the relationship between media exposure behavior and interest in choosing to study at Burapha University and 7) to study the relationship between the image of Burapha University and the interest in choosing to study at Burapha University. The sample consisted are 12th grade students under The Secondary Educational Service Area Office 18., quantitative research, Survey research type by using 424 peoples questionnaires by using random sampling method, the tool used as the close-end questionnaire. The statistics used are frequency, percentage, average. Standard deviation, t-Test, One-way ANOVA and Pearson and Spearman Correlation The results of the study revealed that 1) The most used the website of Burapha University consisting of 359 peoples, representing 84.70%. The feeling about the overall image of Burapha University is good ( X = 4.37) and most are interested in choosing to study at Burapha University 401 peoples, representing 94.60% 2) The demographic characteristics are related to the information exposure behavior of Burapha University with statistical significance at the level of .05 3) The demographic characteristics are related to the interest in choosing to study at Burapha University with statistical significance of .01 4) Students with different demographic characteristics make the school image different in statistical significance at the level of .05 for other aspects of image which are not different. 5) The behavior of exposure to information correlates with the overall image of Burapha University in a positive direction was at a low level with statistical significance at the level of .01. 6) The exposure behavior correlated with interest in choosing to study at Burapha University with statistical significance at the level of .01 and 7) The image of Burapha University is related to the interest in choosing to study at Burapha University in the negative direction at the low level with the statistically significance at the level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง,มหาวิทยาลัยบูรพาxการศึกษาต่อ | |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
61920056.pdf | 3.34 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น