กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/964
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนภาพร เลียดประถมth
dc.contributor.authorรชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศth
dc.contributor.authorณัทธีรา สมารักษ์th
dc.contributor.authorวศิน ยุวนะเตมีย์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:55Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:55Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/964
dc.description.abstractแม่น้ำจันทบุรีเป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดจันทบุรีโดยพื้นที่ส่วนใหญ่บริเวณลุ่มน้ำเป็นพื้นที่เกษตรกรรมทำให้มีการใช้สารกำจัดศัตรูพืชในพื้นที่ และอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนและเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบสถานการณ์การแพร่กระจายของสารกำจัดศัตรูพืชในบริเวณแม่น้ำจันทบุรี เพื่อประเมินหาสารกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อระบบนิเวศบริเวณดังกล่าวไว้ จากการวัดปริมาณสารกำจัดศัตรูพืชในกลุ่มไพรีทรอยด์ (7 ชนิด) สารออการ์โนฟอดเฟต (22 ชนิด) สารคาร์บาเมท (8 ชนิด) และสาร พาราควอท ในตัวอย่างน้ำจากแม่น้ำจันทบุรี พบว่า มีเสียงพาราควอทเท่านั้นที่มีการตรวจพบในน้ำตัวอย่าง ในขณะที่สารอีกสามกลุ่มไม่มีการตรวจพบในน้ำ ซึ่งสารพาราควอทมีการตรวจพบในทุกสถานีที่มีการเก็บตัวอย่างโดยมีความเข้มข้นอยู่ระหว่าง 2.68-15.04 ไมโครกรัม/ลิตร โดยในฤดูฝนมีพบปริมาณพาราควอทมากกว่าฤดูแล้ง และเมื่อเปรียบเทียบปริมาณพาราควอทที่พบในแม่น้ำจันทบุรีกับค่ามาตรฐานของพาราควอทในแคนาดา (16 ไมโครกรัม/ ลิตร) พบว่ามีค่าต่ำมาตรฐาน อย่างไรก็ตามการที่พบพาราควอทในทุกสถานีแสดงให้เห็นว่าพาราควอทมีการแพร่กระจายตลอดแม่น้ำ ดังนั้นจึงต้องมีการคิดตามตรวจสอบปริมาณของพาราควอมต่อไป นอกจากพบการปนเปื้อนของพาราควอทในน้ำตัวอย่างแล้วในยังพบการปนเปื้อนของพาราควอทในตะกอนดินโดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.08-0.2 มก/กกใ จากนั้นได้ทำการศึกษาผลกระทบของพาราควอทต่อปลากะพงขาวซึ่งเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำ โดยทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ จากศึกษาพบว่าปลากะพงขาวที่ได้รับพาราควอทที่ความเข้มข้น 0.05 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตรเป็นระยะเวลา 7 วัน พบว่า มีการแสดงออกของยีนซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมิวเตสในชุดการทดลองที่ได้รับพาราควอทมีค่าสูงกว่าชุดควบคุม โดยที่ความเข้มข้น 2มิลลิลิตรต่อลิตร มีการแสดงออกที่สูงสุดในชั่วโมงที่ 24 ในขณะที่การแสดงออกของยีน HSP70 พบการแสดงออกของยีน HSP70 สูงขึ้น เปรียบเทียบกับชุดควบคุมเช่นกัน โดยในชุดการทดลองพาราควอทเข้มข้น 2 มก./ล. ที่ชั่วโมงที่ 12 และ 24 The Chanthaburi River is the major river of Chanthaburi provinve which serves for agricultural activity. Since the maun landuse in Chanthaburi watershade is agricultural area. Therefore, the pesticide contaminant in the area can be occurred. This study has aims to determine pesticide distribution in river for assessment the most risk group of pesticides in this area. The result showed that only paraquat was found in Chanthaburi River while organophosphate (22 types) carbarmate (8 types) and pyrethriod (7 types) were not found in the water samples. The paraquat was found in every sampling station. The paraquat in the water sample were ranged between 2.68-15.04 ug/L. The water samples in wet season were showed higher concentration of paraquat than wet season water sample. The highest concentration of paraquat in water samples of this study was still lower than the Canada standard level of paraquat (16 ug/L). However the continuing of monitoring of paraquat in this area should be concern due to the presented of paraquat in the water along the Chanthaburi River . Meanwhile in the sediment sample along the chanthaburi River also found contaminated of paraquat in every station. Paraquat in sediment was ranged between 0.08-0.2 mg/L. This study also conduct to dettermine the effect of paraquat to seabass which in the estury aquatic animal. The result show that gill of seabass which expose to paraquat at 0.05 and 2 mg/L increased agne expression of CuZn SOD (copper zince superoxide dismutase) when seabass expose to paraquat particulariy in seabass which expose to 2 mg/L of paraquat at 24 hour. In addition HSP 70 (heat shock protein 70) also increased gene expression when seabass expose to paraquat particularly in seabass which expose to 2 mg/L of paraquat at 12 and 24 hourth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectสารกำจัดศัตรูพืชth_TH
dc.titleการแพร่กระจายของสารกำจัดศัตรูพืชในแม่น้ำจันทบุรี และผลกระทบต่อสัตว์น้ำth_TH
dc.title.alternativeDistribution of pesticides in chanthaburi river and the effect on aquatic animalen
dc.typeResearch
dc.year2553
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น