กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/884
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรตีวรรณ อ่อนรัศมีth
dc.contributor.authorดนัย บวรเกียรติกุลth
dc.contributor.authorรจฤดี โชติกาวินทร์th
dc.contributor.authorวัลลภ ใจดีth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:49Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:49Z
dc.date.issued2542
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/884
dc.description.abstractปากแม่น้ำบางปะกงเป็นบริเวณที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจำนวนมาก อันเป็นผลให้เป็นแหล่งรวมของของเสียต่าง ๆ ทั้งทางกายภาพ เคมีและชีวภาพ โดยเฉพาะเชื่อโรคที่ปนเปื้อนน้ำบริเวณนี้อันอาจมีผลกระทบต่อระบบห่วงโซ่อาหารและระบบนิเวศน์วิทยาของบริเวณปากแม่น้ำ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่อการรอดชีวิตของฟีคัลโคลิฟอร์มและฟีคัลสเตรปโตคอคไค เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณาเลือกใช้จุลินทรีย์บ่งชี้นี้เหมาะสมในการกำหนดคุณภาพน้ำบริเวณปากแม่น้ำ การดำเนินการวิจัยมีทั้งภาคสนามและในห้องปฏิบัติการ ในภาคสนามประกอบด้วยการเก็บตัวอย่างน้ำในระยะต่าง ๆ จากปากแม่น้ำ คือ บริเวณปากแม่น้ำ และบริเวณที่ห่างจากปากแม่น้ำในระยะ 2.5, 5, 8 และ 12 กิโลเมตร และที่ระดับความลึก 3 ระดับ คือ ระดับต่ำกว่าผิวน้ำ 30 เซนติเมตร ระดับกึ่งกลางแม่น้ำ และระดับเหนือท้องน้ำ 50 เซนติเมตร ในช่วงเวลา 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว หลังจากนั้นมีการทดลองทางห้องปฏิบัติการโดยการใช้ระบบจำลอง microcosm ผลการศึกษาพบว่า อุณหภูมิ, ความนำไฟฟ้า, ความเค็มและของแข็งละลายน้ำทั้งหมดมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับฟีคัลสเตรปโตคอคไค แต่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับฟีคัลโคลิฟอร์ม จากการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่า แสงแดดและความเค็มเป็นปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อการรอดชีวิตของฟีคัลโคลิฟอร์มและฟีคัลสเตรปโตคอคไค และพบว่า ที่ความเค็มที่ 1, 10, 20 และ 30 ส่วนในพันส่วน ฟีคัลสเตรปโตคอคไคมีการรอดชีวิตได้ดีกว่าฟีคัลโคลิฟอร์มth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2542.en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectคุณภาพน้ำ - - แม่น้ำบางประกง(ฉะเชิงเทรา) - - วิจัยth_TH
dc.subjectจุลินทรีย์ - - แม่น้ำบางประกง(ฉะเชิงเทรา) - - วิจัยth_TH
dc.subjectนิเวศวิทยา - - แม่น้ำบางปะกง(ฉะเชิงเทรา) - - วิจัยth_TH
dc.subjectแบคทีเรีย - - แม่น้ำบางประกง(ฉะเชิงเทรา) - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลกระทบของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่อการรอดชีวิตของฟีคัลโคลิฟอร์มและฟีคัลสเตรปโตคอคไคในบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงth_TH
dc.title.alternativeEffect of physical environment on survival of Fecal Coliform and Fecal Streptococci in Bangpakong Estuaryth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2542
dc.description.abstractalternativeThe Bangpakong estuary is an area where many fishery manufactures have been operated; as a result it is the vulnarable area in which various waste products including physical, chemical and biological waste products have accmulated and contaminated with the water in this area. This may affect the chains of food and ecological system of this area. Therefore, this research objective is to identify the effect of physical environment factors to the survival of Fecal Coliform and Fecal Streptrococci. Then, The appropriate selection of Fecal Coliform and Fecal Streptococci indicator for identification of water quality in estuary will be based on the data obtained for this study. This study comprises of field work and laboratory activites. In the field the samples of water were collected from different areas in relation to the mount of the river such as at the estuary itself and at the points of 2.2, 5, 8 and 12 kms from the middle of the river, and at the 50 cm above the riverbed in three seasons - hot, rainy and cool seasons. In the labolatory phase, all samples were analysed after and experimentation in the microcosm model. The study revealed that temperature, electrical conductability, saltiness and all dissolved solid has a positive relationship with Feacal streptococci whereas it has a negative relationship with Fecal coliform. The result of laboratory showed that sunshine and saltiness affect to survival of Fecal coliform and Fecal streptococci. It also showed that at the salty level of 1, 10 ,20 and 30 per thousand, the Fecal streptococci was able to have better survival than the Fecal coliformen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_222.pdf4.05 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น