กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8826
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวันดี นิลสำราญจิต
dc.contributor.advisorรจฤดี โชติกาวินทร
dc.contributor.authorศรุตยา ประภาพันธ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:35Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:35Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8826
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบสอบกลุ่มนี้ ศึกษาผลของโปรแกรมการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบกระบวนการมีส่วนร่วมต่อความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารของผู้สัมผัสอาหาร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สัมผัสอาหารในร้านอาหารเขตเทศบาลนครนครปฐม กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30 คน โดยกลุ่มเปรียบเทียบไม่ได้รับการอบรมหรือให้ความรู้ใด ๆ ส่วนกลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติงานแบบกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารรวบรวมข้อมูลของทั้ง 2 กลุ่ม ก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นมาก ร้อยละ 63.8 เป็นร้อยละ 82.4 พบว่า มีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่อย่างน้อย 0.05 ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบ มีความรู้จากร้อยละ 58.5 ลดลงเป็นร้อยละ 56.9 ซึ่งมีความรู้ไม่แตกต่างกัน (p>0.05) โดยความรู้ของผู้สัมผัสอาหารกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่อย่างน้อย 0.05 และกลุ่มทดลองมีคะแนนความตระหนักเฉลี่ยจาก 39.87 เพิ่มขึ้นเป็น 46.67 คะแนน พบว่า มีความตระหนักเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่อย่างน้อย 0.05 ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบ มีคะแนนความตระหนักเฉลี่ยจาก 33.67 ลดลงเป็น 33.53 คะแนน พบว่า มีความตระหนักเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p>0.05) ความตระหนักของผู้สัมผัสอาหารกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่อย่างน้อย 0.05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectสุขาภิบาลอาหาร
dc.subjectสุขาภิบาล
dc.titleผลของการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบกระบวนการมีส่วนร่วมต่อความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารของผู้สัมผัสอาหารในร้านอาหารเขตเทศบาลนครปฐม จังหวัดนครปฐม
dc.title.alternativeEffect of the pprecition influence control workshop on knowledge nd wreness regrding food snittion of food hndlers in resturnts in Nkhon pthom municiplity, Nkhon pthom province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this two-groups quasi-experimental research were to study the effects of a participatory process training program on food handlers’ knowledge and awareness about food sanitation. The study sample were 60 restaurant food handlers in Nakhon Pathom Municipality. They were equaly assigned in to an experimental and a comparison group. The experimental group samples were required to attend a workshop training program that participatory process based on Participation Process concepts were applied to enhance their knowledge and awareness about food sanitation. While the comparison group samples did not receive any intervention activity. Data was collected before and after experiment from both the experimental and the comparison group. Data was analyzed using descriptive and inferential statistics. The results showed that after the experiments, the average knowledge score of the experimental group increased from 63.8% to 82.4%, was statistically significant at least 0.05. Whereas the comparison group’s knowledge was reduced from 58.5% to 56.9%. There was no significant in increased knowledge (p>0.05). The knowledge of food handlers, experimental groups, and comparison groups was significantly different at .05 level. And the experimental group had an average score of 39.87, increasing to 46.67. There was a statistically significant increase at .05. Comparison group’s awareness mean score was reduce from 33.67 to 33.53 found to be significantly higher (p>0.05). There was a statistically significant difference in the perception of food handlers in the experimental group and in the control group.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
56920312.pdf3.94 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น