กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8822
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวัลลภ ใจดี
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ กุลบุตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:34Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:34Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8822
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ส.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวเพิ่มมากขึ้น ต้องเผชิญกับสภาพทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้มีปัญหาสุขภาพ ไม่เฉพาะสุขภาพทางกายเท่านั้น สุขภาพจิตก็เป็นปัญหาด้วยเช่นเดียวกัน การศึกษาจึงต้องการค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าตนเองกับภาวะความสมบูรณ์ทางสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ 200 คน ของตำบลวังตะกู อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ข้อมูลเก็บด้วยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และวิเคราะห์ด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนมากเป็นหญิงร้อยละ (61.5%) อายุเฉลี่ย 69.98+-7.52 ปี จบการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา (65.0%) มีสถานภาพสมรสคู่ (70.5%) และมีโรคประจำตัว (83.0%) ผู้สูงอายุส่วนมากเห็นความสำคัญตนเองโดยรวมในระดับสูง ให้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 81.0 ของคะแนนเต็ม และมีภาวะความสมบูรณ์ทางสุขภาพจิต โดยรวมในระดับดีมากให้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 84.5 ของคะแนนเต็ม การเห็นคุณค่าตนเองกับภาวะความสมบูรณ์มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกให้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน .223 มีนัยสำคัญทางสถิติ P<0.05 ดังนั้น ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยด้านอื่น ๆ ที่จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ เช่น ด้านสภาพแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectสุขภาพจิต
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพจิต
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าตนเองกับภาวะความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ตำบลวังตะกู อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
dc.title.alternativeA reltionship between elf-esteem nd well-being on mentl helth mong the elderly, wng tku district, Nkhon prthom province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe elderly have more longevity. Faced with social conditions. The economy and environment change. Have health problems. Not only physical health. Mental health is also a problem. The study sought to identify the relationship between self-esteem and mental health status among the elderly. The sample consisted of 200 elderly people in Wang Taku District, Nakhon Pathom Province. Data collected through structured interviews. And analyzed by percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product momen correlation coefficient. The results showed that most of the elderly were female (61.5%) with mean age 69.98+-7.52 years. Highest Graduation Level (65.0%) Marital status (70.5%) and morbidity (83.0%). Most elderly self-perceived high self-esteem. Average score was 81.0% of full score. Full and complete mental health status at a very good level. Scoring is a percentage. 84.5 of the full score. Self-esteem and well-being are positively correlated. Pearson’s correlation coefficient .223 was statistically significant P<0.01. Should be studied on other factors. This will affect the mental health of the elderly, such as the economic environment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920218.pdf3.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น