กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8816
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนันทพร ภัทรพุทธ
dc.contributor.advisorศรีรัตน์ ล้อมพงศ์
dc.contributor.authorศรายุทธ พิริยะเบญจวัฒน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:33Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:33Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8816
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับสัมผัสสารไซลีนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเสพติดของพนักงาน จำนวน 100 คน ในโรงงานผลิตสีอุตสาหกรรมในจังหวัดชลบุรี โดยการหาปริมาณความเข้มข้นของกรดเมทิลฮิปปูริกในปัสสาวะ (หลังสิ้นสุดการทำงาน) และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเสพติดสารโดยใช้แบบสอบถาม และหาความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Chi-square ผลการศึกษาพบว่า พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 84.0 อายุเฉลี่ย 33.53 ปี ชั่วโมงการทำงานกับสารตัวทำละลายเฉลี่ย 5.87 ชั่วโมง/ วัน ส่วนใหญ่ทำงานในแผนกผสมและพ่นสีร้อยละ 38.0 และปริมาณระดับความเข้มข้นของกรดเมทิลฮิปปูริกในปัสสาวะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.014 g/ g creatinine จากการตอบแบบสอบถาม พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีภาวะเสพติดสารตัวทำละลายอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 51.0 และระดับสูง ร้อยละ 12.0 ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเสพติดสารตัวทำละลาย ได้แก่ เพศ (p = 0.021), อายุ (p = 0.007), ระดับการศึกษา (p = 0.042), การสูบบุหรี่ (p<0.001), การดื่มแอลกอฮอล์ (p<0.001), การรับสัมผัสสารไซลีทางผิวหนัง (p = 0.008), ลักษณะงานที่ทำ (p = 0.001), จำนวนชั่วโมงที่ทำงานกับสารทำละลาย (p<0.001), การทำงานล่วงเวลา (p = 0.001), การใช้ชุดป้องกันสารเคมี (p = 0.037) และปริมาณความเข้มข้นของกรดเมทิลฮิปปูริกในปัสสาวะ (p<0.001) ผลศึกษครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การรับสัมผัสสารไซลีนมีผลต่อภาวะเสพติดสารตัวทำละลาย ดังนั้น จึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการควบคุมและตรวจกำกับด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างเข้มงวดตามกฎหมาย 2 ครั้ง/ ปี เพื่อป้องกันภาวะเสพติดสารตัวทำละลายในอนาคต
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectไซลีน
dc.subjectอุตสาหกรรมสี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
dc.titleการประเมินการรับสัมผัสสารไซลีนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเสพติดของพนักงานในโรงงานผลิตสีอุตสาหกรรมในจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeThe evlution of xylene exposure nd fctors relted of ddiction mong workers in industril pint mnufcturing chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe aims of this cross-sectional study were to evaluate xylene addiction and its determining factors among 100 workers in paint manufacturing, Chonburi province. The level of urinary methyส hippuric acid (end of shift) was monitored and the factors related to addiction were assessed by using questionnaire. The association between the factors and addiction was analyzed by Pearson’s correlation and Chi-square. It was found that most of the study subjects were male (84.0%) with an average age of 33.53 years. with an average working hours with solvent 5.87 hours/ day. More than a third (45.0%) worked in mix/ spray paint department. More than a third (38.0%) some time use respiratory chemical mask with filter cartridge personal protective equipment (PPE) at work. And the average concentration of urinary methyl hippuric acid was 0.014g/ g creatinine. The result revealed that most workers (51.0%) had moderate addiction and 12.0% of them had high addiction. Factors showed significant association with addiction were gender (p = 0.021), age (p = 0.007), education (p = 0.042), smoking (p<0.001), alcohol (p<0.001), route of xylene exposure (skin) (p = 0.008), working condition (p = 0.001), working hour with solvents (p<0.001), overtime (p = 0.001), use chemical protection suit of personal protective equipment (PPE)(p = 0.037) and level of urinary methylhippuric acid (p<0.001). The results showed that xylene exposure level affected to addiction. Therefore it needed to reduce xylene exposure by following control measures and monitored environment and worker health strictly 2 times a year for preventing solvent addiction in the future.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920199.pdf3.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น