กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8807
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปาจรีย์ อับดุลลากาซิม
dc.contributor.advisorนิภา มหารัชพงศ์
dc.contributor.authorสิริวรรณ ธรรมคงทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:30Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:30Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8807
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive study) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลระหว่าง เมษายน-มิถุนายน 2561 วิเคราะห์ด้วยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันมีพฤติกรรมการดูแลตนเองใน ระดับสูง คะแนนเฉลี่ย 60.74 (SD = 5.14) ผลการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ได้แก่ เพศ (rpb= 0.247, p< 0.01) ความเชื่อด้านสุขภาพ (r= 0.185, p< 0.01) ระยะเวลาการเจ็บป่วย (r = 0.151, p< 0.05) และการสนับสนุนทางสังคม (r= 0.145, p< 0.05) จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาครั้งนี้ เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาแนวทางสำหรับการส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.subjectการออกกำลังกาย -- เครื่องมือและอุปกรณ์
dc.subjectการออกกำลังกาย
dc.titleผลของโปรแกรมออกกำลังกายด้วยแผ่นยางยืดต่อความสามารถการใช้งานข้อและการเคลื่อนไหวข้อเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม
dc.title.alternativeEffect of exercise progrm using ther-bnd on joint bility nd joint mobility in ptient with knee osteorthritis
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis descriptive study aimed to factors associated with self-care behaviors of acute coronary syndrome patients, Chularat 3 international hospital, Samutprakan province. The sample of 200 persons was derived from systematic sampling. Data collection included a questionnaire was between april and june 2018. Analysis was done in terms ofPercentage, Average, Standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient and Point-biserial correlation coefficient. Research results showed that acute coronary syndrome patients expressed a high level of self-care with the average of 60.74 (SD = 5.14). In addition, the analysis revealed following factors related to self-care behaviors of acute coronary syndrome patients:gender (rpb= 0.247, p< 0.01), Health belief (r= 0.185, p< 0.01), duration of illness (r = 0.151, p< 0.05) and social support (r= 0.145, p< 0.05). Suggestions from this research could be used for developing guideline in order to promote positive self-care behaviors among acute coronary syndrome patients.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59920300.pdf100.35 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น