กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8806
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorยุวดี รอดจากภัย
dc.contributor.advisorนิภา มหารัชพงศ์
dc.contributor.authorจิตอารีย์ จอดสันเทียะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:28Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:28Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8806
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยตัดขวาง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยทำนายพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของอาสาสมัครกู้ชีพจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครกู้ชีพในเขตจังหวัดชลบุรี จำนวน 315 คน สุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อมั่นด้านสุขภาพ แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการทำงานของอาสาสมัครกู้ชีพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการทำงานของอาสาสมัครกู้ชีพอยู่ในระดับดี และปัจจัยที่มีอำนาจทำนายพฤติกรรมการทำงานของอาสาสมัครกู้ชีพได้แก่ แรงสนับสุนทางสังคมด้านวัสดุ/อุปกรณ์ แรงสนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์ ความเชื่อด้านสุขภาพด้านการรับรู้ความรุนแรง และการรับรู้ประโยชน์ โดยตัวแปรเหล่านี้สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการทำงานได้ร้อยละ 26.8 สามารถเขียนสมการทำนายได้ดังนี้ Y = 79.430 + 1.099X11 + 0.429X10 + 0.582X8 + 0.389X7 เมื่อ X11 = แรงสนับสนุนทางสังคมด้านวัสดุอุปกรณ์ X10 = แรงสนับสนุนด้านอารมณ์ X8 = การรับรู้ประโยชน์ X7 = การรับรู้ความรุนแรง จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าให้แรงสนับสนุนทางสังคมด้านวัสดุอุปกรณ์ การได้รับกำลังใจจากครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน การส่งเสริมรับรู้ประโยชน์และการรับรู้ความรุนแรง จะทำให้อาสาสมัครกู้ชีพมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานเพิ่มมากขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.subjectอาสาสมัคร -- มาตรการความปลอดภัย
dc.titleพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของอาสาสมัครกู้ชีพจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeSfety behviors of frist responder working in Chonburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this Cross-Sectional Descriptive Research was to study the behavior and the predictive factors in working of volunteer rescuers in Chonburi. The participants were 315 volunteer rescuers to be selected by multi stage sampling method. The questionnaire was designed to collect data including personal factors, health belief factors, social instrumental support factors, and work behavior of volunteer rescuers. Descriptive Statistics were used to analyze data including frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation Coefficidnt, and Multiple Linear Regression. The results showed work behavior of volunteer rescuers occurred at high level and factors influencing work behavior of volunteer rescuers were as follow: social instrumental support, social emotional support, health belief, perceived severity and perceived benefits which these factors could predit work behavior at 26.8 percent by writing the following equation: Y = 79.430 + 1.009X11 + 0.429X10 + 0.582X8 + 0.989X7 When X11 = Social instrumental support X10 = Emotional support X8 = Perceived benefits X7 = Perceived servity Moreover, the results indicated that social instrumental support, encouragement from family and colleagues, promotion of perceived benefits, and perceived severity would increase the work safety of volunteer rescuers.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59910156.pdf4.59 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น