กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8805
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์ | |
dc.contributor.advisor | นันทพร ภัทรพุทธ | |
dc.contributor.author | อารียา นามนต์พิมพ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:25:27Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:25:27Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8805 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ทำการศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับเสียงของโฟมโพลียรูีเทนเหลือใช้การกระบวนการผลิตนำมาจัดทำเป็นฉากดูดซับเสียงที่ขนาดความหนา 0.25 นิ้ว 0.5 นิ้ว 1 นิ้วและ 2 นิ้ว กับกรณีศึกษาทั้ง 4 กรณีประกอบด้วยกรณีที่ 1 เปิดเครื่องจักรทั้งสามเครื่องพร้อมกัน 3 ลักษณะงาน กรณีที่ 2 เปิดเฉพาะเครื่องปั๊มแบบตัดเหล็ก ทั้ง 3 เครื่อง กรณีที่ 3 เปิดเฉพาะเครื่องปั๊มแบบเจาะ ทั้ง 3 เครื่อง และกรณีที่ 4 เปิดเฉพาะเครื่องปั๊มแบบพับทั้ง 3 เครื่อง ทำการศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 3 คน แบ่งเป็นเพศชายร้อยละ 66.7 และเพศหญิง ร้อยละ 33.3 มีอายุเฉลี่ย 23-49 ปีและอายุงาน 8.3 ปี ระดับเสียงแผนกปั๊มอะไหล่ย่อยในโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์เหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการก่อนการติดตั้งฉากดูดซับเสียงพบว่า อยู่ในช่วง 82.8-92.5 เดซิเบลเอและมีลักษณะ เสียงเป็นแบบเสียงดังต่อเนื่องแต่ไม่คงที่หลังทำการติดตั้งฉากดูดซับเสียงที่ความหนาขนาดต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า กรณีที่ 1 ฉากที่ลดเสียงได้ดีที่สุด คือ ฉากหนา 2 นิ้วลดได้ 2.0-4.1 เดซิเบลเอกรณีที่ 2 ฉากที่ลดเสียงได้ดีที่สุด คือ ฉากหนา 0.25 และ 1 นิ้วลดได้ 1.4-4.6 เดซิเบลเอกรณีที่ 3 ฉากที่ลด เสียงได้ดีที่สุด คือ ฉากหนา 1 นิ้วลดได้ 2.0-4.1 เดซิเบลเอและกรณีที่ 4 ฉากที่ลดเสียงได้ดีที่สุด คือ ฉากหนา 2 นิ้วลดได้ 1.5-3.0 เดซิเบลเอเมื่อทำการทดสอบด้วยสถิติ Paired t-Test ในรายความถี่ของการดูดซับเสียงของขนาดความหนาที่ดูดซับเสียงได้ดีที่สุดพบว่า กรณีที่ 1 ขนาดความหนา 2 นิ้ว ที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์และ 2,000 เฮิรตซ์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p = 0.015 และ p = 0.016 ตามลำดับ) แต่กลับ พบว่า ที่ความถี่ 1,000 เฮิรตซ์และ 4,000 เฮิรตซ์ไม่มีความแตกต่างกัน กรณีที่ 2 ที่ขนาดความหนา 0.25 นิ้ว ที่ความถี่ 1,000 เฮิรตซ์ 2,000 เฮิรตซ์และ 4,000 เฮิรตซ์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p = 0.001 p = 0.037 และ p = 0.032 ตามลำดับ) แต่กลับ พบว่า ที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์ไม่มีความแตกต่างกัน และขนาดความหนา 1 นิ้ว ที่ความถี่ 1,000 เฮิรตซ์และ 2,000 เฮิรตซ์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p = 0.001 และ p = 0.011 ตามลำดับ) แต่กลับ พบว่า ที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์และ 4,000 เฮิรตซ์ ไม่มีความแตกต่างกัน กรณีที่ 3 ที่ขนาดความหนา 1 นิ้ว ที่ความถี่ 1,000 เฮิรตซ์ 2,000 เฮิรตซ์และ 4,000 เฮิรตซ์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p = 0.001 p = 0.025 และ p = 0.038 ตามลำดับ) แต่กลับ พบว่า ที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์ไม่มีความแตกต่างกันและกรณีที่ 4 ที่ขนาดความหนา 2 นิ้ว ที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p = 0.001) แต่กลับ พบว่า ที่ความถี่ 1,000 เฮิรตซ์ 2,000 เฮิรตซ์และ 4,000 เฮิรตซ์ไม่มีความแตกต่าง ดังนั้น การศึกษานี้ควรมีการนำโฟมโพลียรูีเทนเหลือใช้มาจัดทำวัสดุลดเสียงร่วมกับอุปกรณ์ป้องกันเสียงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงในสถานประกอบกิจการ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โฟม | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา--คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.subject | วัสดุโฟม | |
dc.title | ประสิทธิภาพของวัสดุโฟมโพลียูรีเทนเหลือใช้เพื่อดูดซับเสียงเครื่องปั้มโลหะในโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์เหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ | |
dc.title.alternative | Efficiency of reuse polyurethne fom for bsorbing noise of press mchine in steel furniture mnufcturing fctory,smutprkrn province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research studies the noise absorption efficiency of the polyurethane foam waste sceens. Thickness noise absorbing sceens is 0.25 inches, 0.5 inches, 1 inches and 2 inches, with 4 case studies in working machines. Case 1: Open all 3 pumps for 3 types of work (Cutting steel, chipping steel and lapping steel). Case 2: Open all 3 pumps for cutting steel. Case 3 Open all 3 pumps for chipping steel and Case 4: open all 3 pumps for lapping steel. The population in study consisted 66.7 percent male and 33.3 percent female, average age 23 -49 years and 8.3 years of work small part pump department, in a steel furniture factory in Samut Prakan Province. Before installing noise level of 82.8-92.5 dBA, the noise characteristics are continuous noise (Non steady state noise). After this study results that Case 1: The sceens is best noise reduce is 2 inches thick, reducing to 2.0-4.1 dBA. Case 2: The sceens is best noise reduce is 0.25 inches thick and 1 inches thick, reducing to 1.4-4.6 dBA. Case 3: The sceens is best noise reduce is 1 inches thick, reducing to 2.0-4.1 dBA. Case 4: The sceens is best noise reduce is 2 inches thick, reducing to 1.5 to 3.0 dBA. When tested with Paired t-Test statistics comparing noise frequency absorbing of best thickness results is Case 1, the thickness of 2 inches at the frequency of 500 Hz and 2,000 Hz is significantly different at the level of 0.05 (p = 0.015 and p = 0.016, respectively) but found that at frequencies 1,000 Hz and 4,000 Hz there is no different Case 2, with a thickness of 0.25 inches at the frequency of 1,000 Hz, 2,000 Hz and 4,000 Hz, is significantly different at the level of 0.05 (p = 0.001 p = 0.037 and p = 0.032, respectively) but found that at a frequency of 500 Hz, there is no different and the thickness of 1 inch at the frequency of 1,000 Hz and 2,000 Hz is significantly different at the level of 0.05 (p = 0.001 and p = 0.011, respectively) but found that at 500 Hz and 4,000 Hz, there is no different Case 3, with a thickness of 1 inch at the frequency of 1,000 Hz, 2,000 Hz and 4,000 Hz, is significantly different at the level of 0.05 (p = 0.001 p = 0.025 and p = 0.038, respectively) but found that At a frequency of 500 Hz, there is no different Case 4, at a thickness of 2 inches at a frequency of 500 Hz, was significantly different at the level of 0.05 (p = 0.001) but found that at 1,000 Hz, 2,000 Hz and 4,000 Hz, there is no different. Therefore, this study it recommended that polyurethane foam waste materials, reducing noise with personal protective equipment in factory. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | อาชีวอนามัยและความปลอดภัย | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59920297.pdf | 3.21 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น