กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/832
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิเชียร ชาลี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:46Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:46Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/832 | |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน และปริมาณการแทนที่เถ้าถ่านหิน ต่อลักษณะความคงทนของคอนกรีตที่แช่ในสภาวะแวดล้อมน้ำทะเล หล่อตัวอย่างคอนกรีตโดยใช้เถ้าถ่านหินชนิด F แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ I ในอัตราร้อยละ 0, 15, 25, 35 และ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน และใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.45, 0.55, และ 0.65 และ สำหรับคุณสมบัติด้านความคงทน หล่อตัวอย่างคอนกรีตขนาด 200x200x200 มม.3 และฝังเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. ยาว 50 มม. มีระยะคอนกรีตหุ้มเหล็ก 10, 20, 50, 75 และ 90 มม. หลังจากบ่มคอนกรีตจนอายุครบ 28 วัน นำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่บริเวณชายฝั่งทะเล จ.ชลบุรี เป็นเวลา10 ปี สร้างดัชนีด้านความคงทนของคอนกรีตจาก ปริมาณคลอไรด์วิกฤต (T), สัมประสิทธิ์การแทรกซึมของคลอไรด์ (Dc), ปริมาณการแทนที่เถ้าถ่านหิน, อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน (W/B), และกำลังอัดคอนกรีต ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณคลอไรด์วิกฤต (คลอไรด์อิสระ) ในคอนกรีต มีค่าลดลง เมื่ออัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานลดลง และปริมาณการแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยเถ้าถ่านหินสูงขึ้นตลอดจน สัมประสิทธิ์การแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีตลดลงตามอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่ลดลง และปริมาณการแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยเถ้าถ่านหินสูงขึ้น ลักษณะความคงทนของคอนกรีต ที่วิเคราะห์จากดัชนีความคงทน (T/Dc เทียบกับคอนกรีตที่มี W/B เท่ากับ 0.45) และกำลังอัด พบว่าคอนกรีตที่มีอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.45 และแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ด้วยเถ้าถ่านหิน ร้อยละ 15-35 มีคุณสมบัติด้านความคงทนที่ดี สามารถต้านการทำลายและยืดอายุการใช้งานของโครงสร้างคอนกรีตในสภาวะแวดล้อมทะเลได้อย่างมีประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนา มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | Durability index | th_TH |
dc.subject | Fly ash | th_TH |
dc.subject | Marine environment | th_TH |
dc.subject | ดัชนีความคงทน | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.subject | สิ่งแวดล้อมทางทะเล | th_TH |
dc.subject | เถ้าถ่านหิน | th_TH |
dc.title | การสร้างดัชนีด้านความคงทนของคอนกรีตจากข้อมูลทดสอบในสภาพแวดล้อมทะเล | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of durability index of concrete based on field indicator of concrete in marine site | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this investigation are to study the effects of water to binder rations (W/B) and fly ash contents on durability performance of concretes under marine environment. Class F fly ash was used as a partial replacement of Portland cement type I at 0, 15, 25, 35 and 50% by weight of binder. Water to binder rations (W/B) were varied as 0.45, 0.55, and 0.65. For durability study, concrete cube specimens of 200 mm were cast, and steel bars of 12-mm in diameter and 50-mm in length were embedded in the specimens at the coverings of 10, 20, 50, 75 and 90 mm. Subsequently, the hardened concrete specimens were cured in fresh water until the age of 28 days and then were exposed to the tidal zone of marine environment in Chonburi province for 10 years. Durability index of concrete was evaluated based on the chloride threshold level (T), chloride diffusion coefficient (Dc), fly ash replacement, W/B ratio, and compressive strength of the concrete. The results showed that the chloride threshold level (free chloride) of concrete decreased with both the decrease of W/B ratio and the increase of fly ash replacement. Furthermore, the appearance chloride diffusion coefficient of all concrete mixtures obviously decreased with both the increase of fly ash replacement and the decrease of W/B ratio. Based on the concrete durability (T/Dc as compared to concrete with W/B ratio of 0.45) and compressive strength, the durability performance proposed in this study indicated that fly ash concretes with W/B ratio of 0.45 and 15-35% fly ash replacements provided high quality concretes in marine site, which could be efficiently employed to enhance the durability of concrete structures in marine environment. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_182.pdf | 3.76 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น