กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/830
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศรีสุดา แซ่อึ้ง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:46Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:46Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/830 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการเกิดสารประกบไฮดรอกซีอปาไทท์บนฟิล์มบางเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ที่เคลือบบนแผ่นสเตนเลสสตีสด้วยวิธี ดีซี อัลบาลานซ์ แมกนีตรอน สปัตเตอร์ริ่ง โดยศึกษาผลของการปรับสภาพผิดฟิล์มบางด้วยวิธีอัลคาไลน์และโอโซนทรีทเมนต์ต่อการเหนี่ยวนำให้เกิดสารประกอบไฮดรอกซีอปาไทท์ในสารละลาย Simulate Body Fluid โดยใช้สารละลายแคลเซียมครอไรด์เข้มข้น 1, 3 และ 6 โมลาร์ ในการปรับสภาพด้วยวิธีอัลคาไลน์ทรีทเมนต์ และสำหรับการปรับสภาพด้วยโอโซน ใช้โอโซนที่อัตราการไหล 250 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 1,6, 12, และ 24 ชั่วโมง วิเคราะหืคุณลักษณะของสารประกอบไฮดรอกซีอปาไทท์ที่เกิดขึ้นด้วยเทคนิคต่างๆได้แต่ กการถ่ายภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) การวิเคราะห์ผลึกของสารประกอบไฮดรอกซีอปาไทท์ด้วยเทคนิคการเลี้ยงเบนรังสีเอกซ์ (XRD) และการวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบด้วยเทคนิควิเคราะห์รังสีเอ๊กซ์แบบกระจายพลังงาน (EDX) การแรับสภาพผิวฟิล์มบางด้วยวิธีอัลคาไลน์ทรีทเมนต์โดยใช้สารละลายแคลเซี่ยมคลอไรด์ เป็นการทำให้สีผิวหน้าฟิล์มบางมีกลุ่มตะกอนของแคลเซียมคลอไรด์ที่เหนี่ยวนำให้เกิดไฮดรอกซีอปาไทท์ได้ดี สังเกตุได้จากผลของกราฟ XRD และ SEm แต่พบว่าความเข้มข้นของแคลเซียมคลอไรด์ไม่แสดงผลต่อการเหนี่ยวนำที่ชัดเจนและการปรับสถาพด้วยวิธีโอโซนทรีทเมนต์สารมารถเหนี่ยวนำให้เกิดไฮดรอกซีอปาไทท์ได้เช่นกัน โดยที่เวลาในการปรับสภาพด้วยโอโซนจะมีผลกับการเหนี่ยวนำให้เกิดไฮดรอกซีอปาไทท์ การใช้โอโวนในเวลาที่มากกว่่า 12 ชั่วโมง จะเพิ่มการเหนี่ยวนำให้เกิดไฮดรอกซีอปาไทท์ได้มากขึ้น นอกจากนั้นพบว่าการปรับสภาพผิวฟิล์มบางจะช่วยให้ไฮดรอกซีอปาไทท์ที่เกิดขึ้นยึดติดผิวได้ดียิ่งขึ้น The surface of ziconium dioxide thin film coated on stanless steel was modified by useing alkaline treatment and ozone traetment to improve hydroxyapativity conductivity. . The alkaline treatment was performed in 1,3 and 6 M of calcium chloride silution. The ozone treatment the flow rate of 250 mg/L was conducter for 1,6,12 and 24 hours. The hydroxyapatite formationon modified surface was evaluated by soaking in simulate body fluid at 37 C for 7 days. Themicrostructure of modified surface and hydroxyapatite were characterized by scanning electron microscopy/energy dispersive X-ray spectroscopy (SEM/EDX). X-ray diffractometry was employed to determine the crystallinity of hydroxyapatite. In addition, the surface adhesion of hydroxyapatite was investigated. The results reveal that dense hydroxyapatite was achieved from both alkaline treatment and ozone treatment. The concentration of calcium chloride dose not significantly affect the hydroxyapatite formation while thetreatment time of ozone usage more than 12 hours show the satisfying result of hydroxyapatite formation. Moreover, surface treatment by alkaline and ozone treatment improve the adhesion of crystalline hydroxyapatiteon modified surface. | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การปรับสภาพผิว | th_TH |
dc.subject | ฟิล์มบางเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | อัลคาไลน์ทรีทเมนต์ | th_TH |
dc.subject | โอโซนทรทเมนต์ | th_TH |
dc.subject | ไฮดรอกซีอปาไทท์ | th_TH |
dc.title | โครงการการเกิดไฮดรอกซีอปาไทท์บนผิวหน้าฟิล์มบางเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ที่ผ่านการปรับสภาพด้วยวิธีอัลคาไลน์ทรีทเมนต์และโอโซนทรีทเมนต์. | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2555 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น