กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8100
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิริยา ศุภศรี | |
dc.contributor.advisor | ศิริวรรณ แสงอินทร์ | |
dc.contributor.author | จงสฤษฎ์ มั่นศิล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:54:29Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:54:29Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8100 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การคลอดยาวนานอาจทำให้ผู้คลอดและทารกเกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะรอคลอด อาจต้องผ่าคลอด และอาจทำให้ผู้คลอดไม่พึงพอใจต่อการคลอดได้การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบศึกษาสองกลุ่มวัดครั้งเดียวโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดท่า โดยใช้ศาสตร์มณีเวชต่อระยะเวลาปากมดลูกเปิดเร็วและความพึงพอใจต่อการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรกกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้คลอดครรภ์แรกที่มาคลอดบุตร ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าแบบสะดวก จำนวน 50 ราย สุ่มอย่างง่ายโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 รายกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติกลุ่มทดลองได้รับทั้งการดูแลตามปกติและโปรแกรมการจัดท่าโดยใช้ศาสตร์มณีเวช เก็บรวบรวมข้อมูลโดยสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบบันทึกข้อมูลการตั้งครรภ์ และการคลอด และแบบวัดความพึงพอใจต่อการคลอด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณา และการทดสอบค่าทีแบบอิสระ ผลการศึกษา พบว่า ผู้คลอดกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยระยะเวลาปากมดลูกเปิดเร็วสั้นกว่า (t 48=-10.77, p=.01) และมีความพึงพอใจต่อการคลอดมากกว่า (t 48 =12.79, p=.01) ผู้คลอด กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผลการศึกษาเสนอแนะว่า พยาบาลห้องคลอดจึงควรนำโปรแกรมการจัดท่าโดยใช้ศาสตร์มณีเวชไปประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดและสร้างความพึงพอใจต่อการคลอด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การคลอด | |
dc.subject | ปากมดลูก | |
dc.subject | การคลอด -- การพยาบาล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์ | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดทำโดยใช้ศาสตร์มณีเวชต่อระยะเวลาปากมดลูกเปิดเร็วและความพึงพอใจต่อการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก | |
dc.title.alternative | Effects of positioning by mneevd knowledre progrm on durtion of ctive lbor nd stisfction with childbirth mong primiprous prturients | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Prolonged labor may increase risk to maternal and fetal health. Mothers might have to give birth by caesarean section. Also, they might be dissatisfied with childbirth experience. This quasi-experimental study with the design of two-group posttest only design aimed to determine effects of positioning by maneevada knowledge program on duration of active labor and satisfaction with childbirth among primiparous parturients. Participants included 50 primiparous women who met study inclusion criteria and gave birth at Phramongkutklao hospital. They were selected by convenience sampling, then they were randomly assigned to either experimental group (n= 25) or control group (n= 25). Control group received routine care while experimental group received both routine care and positioning by maneevada knowledge program. Data were collected by structured interview of demographics, record form of obstetric data, and scale of childbirth satisfaction. Data were analysed by descriptive statistics and independent t-test. Results revealed that experimental group had lower mean score of active labor duration (t 48=-10.77, p=.01) and had higher mean score of childbirth satisfaction for childbirth (t 48=12.79, p=.01) those of control group significantly. Findings suggest that nurses working in labor room would apply this positioning by maneevada knowledge program to care for parturients. It may promote their labor progress leading them to have childbirth satisfaction. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การผดุงครรภ์ | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.75 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น