กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8094
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์ | |
dc.contributor.advisor | นฤมล ธีระรังสิกุล | |
dc.contributor.author | มณีพร ภิญโญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:54:28Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:54:28Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8094 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 25621 | |
dc.description.abstract | โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องมีการดูแลตนเองต่อเนื่องอย่างเหมาะสม การเสริมสร้างพลังอำนาจเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กป่วยมีการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลัง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กวัยเรียน โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับยาเคมีบำบัดที่หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลชลบุรีระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 จำนวน 34 รายแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 17 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลปกติกลุ่มทดลองได้รับทั้งการดูแลปกติและได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจที่พัฒนาจากแนวคิดของ Gibson (1995) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การค้นพบสถานการณ์จริง 2) การสะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) การตัดสินใจเลือกการปฏิบัติที่เหมาะสม และ 4) ความคงไว้ซึ่งการปฏิบัติ เครื่องมือรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเอง มีค่าความเชื่อมั่นของครอนบาคแอลฟาเท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา independent t-test และ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนการทดลอง (t 16 = 7.785, p < .001) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t 17.64 = 7.30, p< .001) จากผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลควรประยุกต์ใช้โปรแกรมเสริมสร้างพลงอำนาจไปใช้ในเด็กวัยเรียนที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว เพื่อให้เด็กมีการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองนำไปสู่การดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก | |
dc.subject | มะเร็งเม็ดเลือดขาว | |
dc.subject | มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก -- การดูแล | |
dc.title | ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด | |
dc.title.alternative | Effect of empowerment progrm on perceived self-efficcy in self-cre of school-ge children with leukemi undergoing chemotherpy | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Leukemia is a chronic disease that needs continuity of appropriate self-care. Empowering children with leukemia to increase their perceived self-efficacy in self-care is essential. This study was quasi-experimental research having two groups with pretest-posttest design. Study aimed to examine effect of empowerment program on perceived self-efficacy in self-care of school-age children with leukemia undergoing chemotherapy. Participants included 34 children with leukemia who received chemotherapy at a pediatric ward, Chonburi hospital from May to July, 2018. They were assigned to either experimental (n=17) or control group (n=17). Control group had routine care. Experimental group had both routine care and empowerment program based on Gibson’s empowerment concepts (1995). It consisted of four steps; 1) discovering situational reality, 2) critical thinking reflection, 3) making a decision to select appropriate behavior, and 4) maintaining that behavior. Data were collected by the questionnaire of perceived self-efficacy in self-care for school-age children with leukemia undergoing chemotherapy, which had Cronbach’s alpha value as .88. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test and paired t-test. Study results revealed that after experiment, experimental group had higher mean scores of perceived self-efficacy in self-care than before experiment (t 16 = 7.785, p < .001) and than control group (t 17.64 = 7.30, p< .001) significantly. Findings suggest that nurses would apply this empowerment program to school-age children with leukemia in order to promote their perceived self-efficacy in self-care. This would lead them to have appropriate self-care behavior. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเด็ก | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น