กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7843
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เขมารดี มาสิงบุญ | |
dc.contributor.advisor | อารีรัตน์ ขำอยู่ | |
dc.contributor.author | จิรัชยา เหล่าเขตร์กิจ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:12:53Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:12:53Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7843 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.-มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การตัดสินใจทางการพยาบาลมีความสำคัญ และมีผลต่อชีวิตมนุษย์ตลอดจนคุณภาพการพยาบาลและภาพพจน์ของโรงพยาบาลการศึกษาหาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถในการตัดสินใจ ความฉลาดทางอารมณ์ และความมีอิสระในการทำงานของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลเอกชน ในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนศึกษาปัจจัยทำนาย ความสามารถในการตัดสินใจของพยาบาลหัวหน้าเวรกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลเอกชน ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 81 ราย ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบง่ายเครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 4 ตอน ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามความฉลาดทางอารมณ์ 3) แบบสอบถามความมีอิสระในการทำงาน และ 4) แบบสอบถาม ความสามารถในการตัดสินใจของพยาบาลหัวหน้าเวร ซึ่งมีค่าความเชื่อมนสัมประสิทธิ์ แอลฟ่าของครอนบาคกับ .90, .91 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติหาการแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและเบี่ยงเบนมาตรฐานส่วน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธีถดถอยพหุคูณแบบมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1. ความสามารถในการตัดสินใจ ความมีอิสระในการทำงานของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลเอกชน ทั้งรายด้านและโดยรวมอยู่ในระดับสูงและความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาล หัวหน้าเวรโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. ความฉลาดทางอารมณ์และความมีอิสระในการทำงานสามารถร่วมกัน ทำ นายความสามารถในการตัดสินใจของพยาบาลหัวหน้าเวรได้ร้อยละ 71.2 (R 2 adj= .712) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (F(104.16) = 12.56) โดยความฉลาดทางอารมณ์สามารถพยากรณ์ความสามารถในการตัดสินใจของพยาบาลหัวหน้าเวรได้ดีที่สุด (β = .660) และรองลงมาคือ ความมีอิสระในการทำงาน (β = .322) ผลการวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะว่าผู้บริหารทางการพยาบาลควรส่งเสริมให้พยาบาลหัวหน้าเวร มีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์อย่างต่อเนื่องและเปิดโอกาสให้มีอิสระในการคิด และปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถตามขอบเขตวิชาชีพ ซึ่งจะทำให้เกิดความสามารถในการตัดสินใจที่ดี | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | พยาบาล -- การทำงาน | |
dc.subject | บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล | |
dc.subject | การตัดสินใจ | |
dc.subject | โรงพยาบาลเอกชน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล | |
dc.title | ปัจจัยทำนายความสามารถในการตัดสินใจของพยาบาลหัวหน้าเวรโรงพยาบาลเอกชน | |
dc.title.alternative | Fctors predicting decision mking bility of chrge nurses in privte hospitls | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Nursing decisions are important and have great implications to human life, quality of nursing and the image of hospital. This predictive research aimed to study decision making ability, emotional intelligent and job autonomy of charge nurses in private hospitals and to examine factors predicting decision making ability of charge nurses. A random sample of 81charge nurses working at private hospitals in Bangkok were recruited in the study. Research instruments were set of questionnaires regarding nurses’ general information, emotional intelligent, job autonomy and decision making ability. Cronbach’s alpha of questionnaires were .90, .91 and .95 respectively. Percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation and standard multiple regression were used to analyze data. The findings showed as follows: 1. The overall of decision making ability and job autonomy of charge nurses were at a high level. Emotional intelligent was reported at normal level. 2. Emotional intelligent and job autonomy together can significantly predict 71.2% of variance in decision making ability of charge nurses (F(104.6)= 12.56, p<.001). Emotional intelligent was the strongest predictor of decision making ability of charge nurses (β = .660) follow by job autonomy (β = .322) The result of this study suggested that nursing administrators should promote and support charge nurses to develop emotional intelligent and give them the freedom to think and to practice as in the scope of professional practice, which will help to improve decision making ability | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.25 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น