กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7767
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเขมารดี มาสิงบุญ
dc.contributor.advisorวัลภา คุณทรงเกียรติ
dc.contributor.authorวสุรัตน์ นิยมรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:24:45Z
dc.date.available2023-05-12T04:24:45Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7767
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractความสุขสบายเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันประสบความสำเร็จในการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่อช่วยหายใจการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบเชิงพรรณาเพื่อหาความสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขสบายและความสัมพันธ์ระหว่างความปวด ความวติกกังวลและการสนับสนุนทางสังคมกับความสุขสบายของผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่อช่วยหายใจกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่า มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน จำนวน 67 ราย ซึ่งเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม และหอผู้ป่วยวิกฤตหัวใจและหลอดเลือดในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในเขตพัทยาจังหวัดชลบุรีคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ความเจ็บปวด แบบสัมภาษณ์ความวิตกกังวล และแบบสัมภาษณ์ความสุขสบายวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณาและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างรับรู้ความสุขสบายระดับปานกลาง (M = 99.85, SD = 15.72) ความปวดมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลาง (r= -.41, p= .001) ความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับมาก (r= -.90, p< .001) และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับมากกับความสุขสบายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= .89, p< .001) ผลจากการศึกษาครั้งนี้เสนอแนะว่า บุคลากรด้านสุขภาพควรสนับสนุนให้การดูแลจัดการความปวด และลดความวติกกังวลแก่ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันที่ใส่เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายมากขึ้น และเกิดความสำเร็จในการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่
dc.subjectหัวใจวาย
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความปวด ความวิตกกังวล และการสนับสนุนทางสังคมกับความสุขสบายของผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันที่ใส่เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่องช่วยหายใจ
dc.title.alternativeThe reltionships between pin, nxiety, nd socil support nd comfort in cute respirtory filure ptients with non invsive ventiltor support
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativePatient comfort is one of the factors contributing to the successful application of Non-invasive ventilator. This descriptive correlational researched aimed to analyze the relationships between pain, anxiety and social support with comfort in acute respiratory failure patients with non invasive ventilator support. Sixty- seven patients with acute respiratory failure who met the inclusion criteria and received care at Cardiac care unit and Medicine intensive care unit of a private hospital located in Pattaya city, Chon Buri province were recruited in the study. Data were collected by using the Demographic questionnaires, Pain questionnaire, Anxiety questionnaire, Comfort questionnaire, and Social support questionnaire. Data were analyzed by descriptive statistic and Pearson’sproduct moment correlation. The results showed that the study samples perceived comfort at a moderate level (M = 99.85, SD = 15.72). There was a moderate negative correlation between pain and comfort (r= -.41, p= .001) and there was a strong negative correlation between anxiety and comfort (r= -.90, p< .001). In addition, social support had a strong positively correlation with comfort (r= .89, p< .001). These findings indicate that health care providers should provide management interventions to decrease pain and anxiety in order to promote comfort and the successful application of non-invasive ventilator support among patients with acute respiratory failure.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.57 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น