กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7765
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสมัย รัตนกรีฑากุล | |
dc.contributor.advisor | วรรณรัตน์ ลาวัง | |
dc.contributor.author | สิริพัชรีญา ตะวังทัน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:24:44Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:24:44Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7765 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การเพิ่มสมรรถนะแห่งตนแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) มีความสำคัญต่อการทำบทบาทการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในผลลัพธ์การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวของอสม. กลุ่มตัวอย่าง เป็นอสม. ที่ขึ้นทะเบียนและปฏิบัติงานอยู่ในอำเภอบ่อทอง จำนวน 60 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2561 กลุ่มทดลองโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเอง และแบบสอบถามความคาดหวังในผลลัพธ์การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการที่มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .99 และ .99 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการทดสอบค่าทีแบบอิสระ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และค่าเฉลี่ยผลต่างความคาดหวังในผลลัพธ์การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .001 (t = 14.84, p< .001 และ t = 12.38, p< .001 ตามล บ) ผลการวิจัยแสดงว่า โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนมีประสิทธิผลในการเพิ่ม การรับรู้ความสามารถของตนเองและความคาดหวังในผลลัพธ์ ดังนั้น พยาบาลและบุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในการเพิ่มบทบาทการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพของ อสม. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการทางการเคลื่อนไหวต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.subject | คนพิการ -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ | |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและความคาดหวังในผลลัพธ์การฟื้นฟูสมรรถนภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวของอาสาสมัครสาธารณสุข | |
dc.title.alternative | The effects of self-efficcy promoting progrm on perceived self-efficcy nd outcome expecttion of rehbilittion for persons with mobility disbility mong villge helth volunteers | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Enhancing self-efficacy of village health volunteer is important for taking a rehabilitation assistant role for persons with mobility disability. This quasi-experimental research aimed to study the effects of the self-efficacy promoting program on perceived self-efficacy and the outcome expectation in rehabilitation for persons with mobility disability among village health volunteers. A multi-stage cluster random sampling was used to recruit 60 village health volunteers in Bo-Thong, Chon Buri province. They were divided into experimental group (n= 30) and control group (n= 30). The experimental group participated in the self-efficacy promoting program. Data were collected by questionnaires on self-efficacy and the outcome expectation of rehabilitation which had reliabilities of .99 and .99 respectively. Descriptive statistics and independent t-test were used to analyze the data. The results revealed that after the experiment, the experimental group had gained significant higher scores on the self-efficacy and the outcome expectation of rehabilitation for persons with mobility disability than the control group (t= 14.8, p< .001 and t= 12.38, p< .001, respectively). The results confirm that the self-efficacy promoting program is an effective program to enhance the perceived self-efficacy and the outcome expectation. Therefore, nurse and other personnel can apply this program as a guideline to improve a rehabilitation assistant role of village health volunteers, in order to improve quality of life among persons with mobility disability. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น